Page 55 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 55
กรอบการท�า HRDD 7
7.2 การบรรเทาความเสี่ยงและวางกลไกป้องกัน
• ให้คุณค่ากับทักษะชุมชนสัมพันธ์ระดับสูง นักชุมชนสัมพันธ์ที่มีประสบการณ์มากจะเน้น
การแสดงออกว่าพวกเขาสามารถรับฟัง ไม่ใช่ดื้อดึงจะปกป้องบริษัท “ทุกกรณี” และไม่พยายาม
หว่านล้อมให้ผู้มีส่วนได้เสียเชื่อว่าพวกเขาผิด ถ้าหากไม่ทำาแบบนี้ ความน่าเชื่อถือของบริษัท
อาจสั่นคลอนได้ หลักการชี้แนะ UNGP คาดหวังอะไรจากบริษัท?
• การติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลและคำามั่นสัญญาของบริษัท บริษัทจะต้องมีระบบบันทึก
การมีส่วนร่วมกับชุมชน รวมถึงสัญญาต่างๆ ที่ให้ไว้ โดยเฉพาะหากอัตราการลาออกของพนักงาน
อยู่ในระดับที่สูงมาก การทำาแบบนี้ช่วยสร้างความจำาภายในองค์กรและการเรียนรู้เชิงสถาบัน • การรับมือกับผลกระทบเชิงลบด้านสิทธิมนุษยชนหมายความว่า บริษัทควร
หลีกเลี่ยงความไม่พอใจของผู้มีส่วนได้เสียเมื่อบริษัทไม่ทำาตามสัญญา บูรณาการข้อค้นพบจากกระบวนการประเมินผลกระทบเข้าไปในการทำางาน
• ให้ปัจเจกบุคคลที่เป็นกลุ่มเปราะบางหรือชายขอบเข้าร่วมด้วย ความเปราะบางนั้นอาจมาจาก ของฝ่ายต่างๆ และขั้นตอนต่างๆ ภายในองค์กร ลงมือปฏิบัติเพื่อป้องกัน
สถานะหรือลักษณะของปัจเจก เช่น สีผิว เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความพิการ อายุ หรือ และบรรเทาผลกระทบที่ค้นพบจากการประเมิน และวางกลไกการตัดสินใจ
สถานะอื่นๆ หรือมาจากสภาพแวดล้อม เช่น ครอบครัวยากจน ด้อยโอกาส พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ กลไกงบประมาณ และกลไกควบคุมภายในเพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถใช้วิธี
ในการเลี้ยงชีพ ไม่รู้หนังสือ สุขภาพไม่ดี ฯลฯ ความเปราะบางเหล่านี้อาจถูกซ้ำาเติมให้รุนแรงมากขึ้น แก้ปัญหาที่เปี่ยมประสิทธิผล
โดยธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมหรืออุปสรรคทางกฎหมาย บุคคลที่อยู่ในกลุ่มเปราะบางหรือชายขอบ
มักจะประสบผลกระทบเชิงลบมากกว่ากลุ่มอื่นๆ กลุ่มเหล่านี้อาจต้องการมาตรการการมีส่วนร่วม
และบรรเทาผลกระทบที่เฉพาะเจาะจงและแยกออกมาต่างหาก เพื่อให้มั่นใจว่าผลกระทบเชิงลบ เรื่องนี้ส�าคัญอย่างไร?
จะไม่ตกอยู่กับพวกเขามากกว่ากลุ่มอื่น และบริษัทจะได้หลีกเลี่ยง บรรเทา หรือชดเชย
ผลกระทบดังกล่าว กลุ่มเปราะบางหรือชายขอบควรได้ประโยชน์จากโอกาสของโครงการ
อย่างเท่าเทียมกับคนอื่น และประเด็นนี้อาจต้องใช้วิธีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่แตกต่างจากเดิม • กระบวนการ “บูรณาการ” จะช่วยให้บริษัทนำาข้อค้นพบจากการประเมิน
เช่นกัน การแยกข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินและรับมือกับผลกระทบออกมาจะช่วยให้บริษัทติดตาม ผลกระทบ ดูว่าใครในบริษัทที่จะต้องมีส่วนในการจัดการกับผลกระทบ
ได้ว่าการจัดการในทางปฏิบัติได้ผลดีมากน้อยเพียงใด และทำางานกับพวกเขาเพื่อตัดสินวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
• การกระทำาต่างๆ ของบริษัทในการป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบ คือสิ่งที่
บริษัทจะช่วยลดผลกระทบต่อผู้คนได้จริงๆ และดังนั้นจึงเป็นหัวใจของ
การบรรลุเป้าหมาย “เคารพสิทธิมนุษยชน”
การปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียคือทักษะ
การปรึกษาหารือกับชุมชนนั้นต้องอาศัยทักษะเฉพาะหลายอย่าง อีกทั้งยังต้องเข้าใจอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น เช่น ขั้นตอนที่จ�าเป็น
ด้านภาษา เพศ หรือวัฒนธรรม รวมถึงความไม่สมดุลเชิงอำานาจระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสีย และระหว่างผู้มีส่วน
ได้เสียด้วยกันเอง บริษัทของคุณควรมั่นใจได้ว่าพนักงานที่จัดการปรึกษาหารือกับชุมชนนั้นมีทักษะและประสบการณ์
ที่จำาเป็น คนที่อยู่ฝ่ายธุรกิจ เช่น ฝ่ายสำารวจพื้นที่ อาจเป็นคนแรกๆ จากบริษัทที่ได้ติดต่อชุมชนท้องถิ่น แต่พวกเขา 1 สร้างวิธีบูรณาการและวิธีลงมือปฏิบัติที่เป็นระบบ
มักจะไม่เคยได้รับการอบรมด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชน และอาจมีแรงจูงใจที่จะให้สัญญาอะไรสักอย่าง (เช่น สัญญา
ว่าจะสร้างงาน หรือทำาโครงการพัฒนาชุมชน) ซึ่งตัวเองไม่ได้รับผิดชอบในการทำาตาม และอาจไม่ได้ส่งต่อไปยังฝ่าย
พัฒนาโครงการ การจัดสรรทรัพยากรบุคคลและงบประมาณให้กับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียอย่างเพียงพอจะ ถ้าหากบริษัทของคุณมีระบบที่เข้มแข็งในการรับมือกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นแล้วหรือมีแนวโน้ม
ช่วยประหยัดเงิน เวลา และชื่อเสียงของบริษัทในภายหลัง เมื่อพยายามจะกอบกู้ความสัมพันธ์กับชุมชนที่ล่มสลาย ว่าจะเกิด บริษัทของคุณก็มีโอกาสที่จะจัดการความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น ลดผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ
ไปแล้ว ด้วยเหตุนี้ บริษัทของคุณจึงต้องให้คุณค่ากับกระบวนการปรึกษาหารือที่มีประสิทธิผลจริงๆ ผู้คน ถ้าหากกระบวนการเหล่านั้นอ่อนแอ การลงมือปฏิบัติของบริษัทก็จะมีแนวโน้มที่จะทำาแบบขอไปที ตำาน้ำาพริก
ละลายแม่น้ำา และไม่อาจพัฒนาปรับปรุงอย่างยั่งยืนได้ในอนาคต
54 55