Page 51 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 51
กรอบการท�า HRDD 7
อาศัยผู้เชี่ยวชาญภายนอก
• กฎหมายคุ้มครองแรงงานต่างด้าวและลูกจ้างที่ได้งานผ่านบริษัทจัดหางานน้อยกว่าพนักงาน
หรือลูกจ้างประจำา บริษัทของคุณอาจพึ่งพาแหล่งความเชี่ยวชาญภายนอกในการประเมินแนวโน้มผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน
• แรงงานไม่ตระหนักในสิทธิของตนเอง แหล่งที่เป็นไปได้มีอาทิ
• แรงงานไม่สามารถเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานของบริษัทได้ และไม่มีองค์กรใดๆ ที่จะสามารถเป็น
ตัวแทนของพวกเขา และไม่มีศักยภาพที่จะรวมกลุ่มกันต่อรองกับบริษัทจัดหางานหรือนายหน้า
นอกจากนี้ ถ้าหากค่าแรงถูกตกลงกันล่วงหน้ากับบริษัทในฐานะผู้ว่าจ้าง การเจรจาต่อรอง • คำาแนะนำาจากรัฐบาล คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO)
ผ่านสหภาพที่เชื่อมโยงกับบริษัทจัดหางานหรือนายหน้าก็อาจมีขีดจำากัดหลายประการ สถาบันการศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ตำารวจ
• แรงงานโดยเฉพาะแรงงานข้ามชาติอาจเผชิญกับความเสี่ยงที่จะถูกบังคับให้ทำางาน (เช่น เพื่อใช้หนี้) • เอกสารหรือข้อเขียนที่เขียนโดยผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งรายงานจาก NGO รัฐบาล สมาคมธุรกิจ
ถูกทำาร้าย หรือผลกระทบขั้นรุนแรงอื่นๆ เมื่อใดที่พวกเขาต้องจ่ายค่าธรรมเนียมแลกกับการหางาน หรือ แนวร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย เอกสารเหล่านี้อาจทำาให้คุณเข้าใจประเด็นสิทธิมนุษยชนร่วมสมัย
หรือเมื่อเอกสารยืนยันตัวตนถูกริบเอาไป ความเสี่ยงเหล่านี้แหลมคมเป็นพิเศษในพื้นที่ซึ่งกฎหมาย หรือประเด็นที่กำาลังอุบัติขึ้นในบริบทของการประกอบธุรกิจ และทำาให้ได้เห็นตัวอย่างผลกระทบ
ระดับชาติอ่อนแอ ไม่ถูกบังคับใช้ หรือขัดแย้งกับสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล • ภาคประชาสังคมในท้องถิ่น เช่น นักสิทธิมนุษยชน สหภาพแรงงาน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO)
และคนอื่นๆ ที่สามารถช่วยให้มองเห็นผลกระทบได้ นอกจากนี้ การขอความช่วยเหลือจากบุคคล
หรือองค์กรเหล่านี้ยังเป็น การเพิ่มความโปร่งใสของบริษัทของคุณ และอาจช่วยปัดเป่าความกังวล
บริษัทควรพิจารณาว่าธรรมเนียมปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจ้างของคุณอาจมีส่วนสร้างผลกระทบอย่างไร ทบทวนว่า ที่พวกเขามีต่อบริษัท
ข้อกำาหนดสำาหรับคู่ค้าและผู้รับเหมาที่บริษัทออกเองนั้นมีส่วนสร้างหรือซ้ำาเติมผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนหรือไม่ • รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ หรือรายงานผลกระทบ
อย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากฝ่ายจัดซื้อกำาหนดว่าคู่ค้าต้องส่งของตรงเวลา โดยไม่คำานึงถึงเกณฑ์อื่นๆ คู่ค้าก็อาจรู้สึก ทางสังคม (EIA / EHIA / SIA) ที่เปิดเผยต่อสาธารณะอาจบ่งชี้ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนได้
ว่าไม่สามารถจ่ายค่าจ้างแรงงานอย่างเพียงพอ อาจว่าจ้างบริษัทจัดหางานภายใต้เงื่อนไขที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน
ของแรงงาน หรือไม่ก็อาจลดมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อสิทธิในการมีสุขภาพที่ดีได้
5 ปรึกษาผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ
4 อาศัยความเชี่ยวชาญ
“ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ” (Affected Stakeholders) ในหลักการชี้แนะ UNGP หมายถึง บุคคลใดก็ตามที่
บริษัทจะต้องอาศัยความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยให้บริษัทมั่นใจว่ากระบวนการประเมินนั้นจะได้ข้อมูล สิทธิมนุษยชนอาจได้รับผลกระทบจากการประกอบธุรกิจ สินค้า หรือบริการของบริษัท เขาหรือเธอถือเป็น “ผู้ทรงสิทธิ”
ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำาได้ แหล่งความเชี่ยวชาญอาจมีทั้งภายในและภายนอกบริษัท และอาจรวมถึงเอกสาร (Rights Holder) ซึ่งรวมถึงมนุษย์ทุกคน และแตกต่างจากผู้มีส่วนได้เสียในภาคประชาสังคม ธุรกิจ หรือภาครัฐ ซึ่งอาจ
หรือแนวทาง หรือปัจเจกบุคคลที่มีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
มีผลประโยชน์เกี่ยวพันหรือส่งผลกระทบต่อกิจการได้ แต่ไม่ใช่ว่าได้รับผลกระทบโดยตรงจากบริษัท การปรึกษาหารือ
ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบจะช่วยให้บริษัทเข้าใจมุมมองของพวกเขาว่า ผลกระทบต่างๆ นั้นส่งผลกระทบต่อชีวิต
อาศัยความเชี่ยวชาญจากภายในบริษัท ความเป็นอยู่ของพวกเขาอย่างไรจริงๆ การสาธิตให้เห็นว่าบริษัทเอาจริงกับการนำาข้อกังวลของผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับ
ผลกระทบมาปรับปรุงกิจการ จะช่วยให้ให้บริษัทสร้างความเข้าใจร่วมกันได้ ทำาให้เป็นไปได้ที่บริษัทจะทำางานร่วมกับ
กระบวนการประเมินผลกระทบ คือ โอกาสที่จะได้พูดคุยกับบุคลากรจากหลากหลายภาคส่วนและหลายฝ่าย
ในบริษัทมาสนทนากันเรื่องผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ ฉะนั้นจึงช่วยสร้างความเข้าใจที่ตรงกันว่า การกระทำาและการ ผู้มีส่วนได้เสียในการระบุผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และหาทางรับมือกับมันอย่างยั่งยืน
ตัดสินใจบางอย่างอาจนำาไปสู่ผลกระทบเชิงลบได้อย่างไร การสนทนาที่ว่านี้จะช่วยทำาให้คนยอมรับและสนับสนุน
มาตรการป้องกันผลกระทบ นอกจากนี้ ยังช่วยสนับสนุนความร่วมมือกันซึ่งจำาเป็นจะต้องเกิดเมื่อใดที่เกิดผลกระทบขึ้น ท�าแผนที่ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Map)
มีหลายวิธีที่คุณจะสร้างกระบวนการปรึกษาหารือภายในนี้ได้
การปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียนั้นก่อนอื่นจะต้องอาศัยการระบุว่า ผู้มีส่วนได้เสียของแต่ละโครงการมีใครบ้าง
สหภาพแรงงานหรือตัวแทนแรงงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย อาจเป็นแหล่งความรู้ความเชี่ยวชาญภายในบริษัท รวมถึงกลุ่มย่อยภายในแต่ละกลุ่ม เช่น สตรี เยาวชน แรงงานผู้พิการ ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ฯลฯ คู่มือ Good Practice
เกี่ยวกับแนวโน้มผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนได้ พวกเขาไม่เพียงแต่อาจมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในผลกระทบต่อพนักงาน Handbook on Stakeholder Engagement ของ International Finance Corporation (IFC) องค์กรลูกของธนาคารโลก
(รวมถึงแรงงานที่ถูกจ้างโดยผู้รับเหมาและคู่ค้าท้องถิ่น) เท่านั้น แต่อาจยังเข้าใจเรื่องผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่น เนื่องจาก หยิบยกข้อพิจารณาบางประเด็นที่อาจสำาคัญต่อการทำาแผนที่ผู้มีส่วนได้เสีย เช่น
พวกเขาเองหลายคนอาจเป็นสมาชิกในชุมชนนั้นๆ ด้วย
50 51