Page 25 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 25

หลักการของ HRDD      5











 จุดเริ่มต้น: หลักการชี้แนะ UNGP
                               •  ทบทวนว่าระบบการตัดสินใจขององค์กรเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างเหมาะสม
                                 หรือไม่ สามารถป้องกันความเสี่ยงด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชนได้จริง

                                 หรือไม่
    จุดเริ่มต้นที่ดีในการจัดการกับประเด็นสิทธิมนุษยชนของบริษัท คือ หลักการชี้แนะ UNGP ดังที่สรุปในบทที่ 2
 ของคู่มือฉบับนี้              •  ทบทวนสิ่งที่บริษัททำาเพื่อบรรเทาความเสี่ยง ทันทีที่ความเสี่ยงนั้นๆ ถูกระบุ
                               •  ประเมินศักยภาพ นโยบาย และระบบของคู่ค้า ผู้รับเหมา และผู้รับจ้าง
                                 รายอื่นๆ ว่าได้มาตรฐานหรือไม่
    ทวนอีกครั้งว่า “ความรับผิดชอบ” ของธุรกิจในหลักการชี้แนะ UNGP เรียกร้องให้บริษัท “รู้จักและแสดง”

 (Know and Show) ว่าตนเองกำาลังรับผิดชอบตามองค์ประกอบข้างต้น โดยจะต้องมีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้  •  บูรณาการระบบต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น นโยบายด้านบุคลากร และทรัพยากร
                                 ทางการเงิน เพื่อประเมิน จัดลำาดับความสำาคัญ ป้องกัน และจัดการกับ
                                 ความเสี่ยงหรือเหตุละเมิดสิทธิมนุษยชนและผลกระทบ ทั้งที่เกิดขึ้นแล้ว
                                 และมีแนวโน้มว่าจะเกิด
   ระบุและประกาศความทุ่มเทของบริษัทต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจนในนโยบายบริษัท

 ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ





   ใช้กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence - HRDD)      เพิ่มขีดความโปร่งใสของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ตั้งแต่การจัดหา
 เชิงรุก เพื่อคาดการณ์ผลกระทบเชิงลบและลงมือบรรเทา  จากวัตถุดิบไปถึงการขาย การส่งมอบสินค้าและบริการ ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่เหมาะสม เพื่อบรรเทาความเสี่ยง

            ด้านสิทธิมนุษยชน



   ปรับปรุงการดำาเนินงาน และเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบเชิงลบด้านสิทธิมนุษยชนจากการดำาเนินธุรกิจ
                  ยอมรับและตระหนักในสิทธิสากลของลูกจ้างทุกคน ในการรวมกลุ่มกันเป็นสมาคมหรือสหภาพ และสิทธิ

            ในการเจรจาต่อรอง



 หลักการส�าคัญส�าหรับ HRDD



                               •  ยอมรับว่าความสามารถของลูกจ้างในการใช้สิทธิดังกล่าวบางครั้งถูกจำากัด
    บริษัทที่ตั้งใจจะลงมือทำาตามหลักการชี้แนะ UNGP และวางกลไกการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน   (เช่น ด้วยจุดอ่อนของตัวบทกฎหมาย หรือความย่อหย่อนของการบังคับใช้
 หรือ HRDD ควรครุ่นคิดพิจารณาถึง “ขอบเขต” ที่บริษัทยินดีและสามารถใช้หลักการต่อไปนี้ได้  กฎหมาย)
                               •  บริษัทยินดีที่จะช่วยขจัดข้อจำากัดหรืออุปสรรคต่างๆ ในการใช้สิทธิของลูกจ้าง
    มีภาวะผู้นำาในองค์กร หมายถึง ความทุ่มเทที่จะผลักดันการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระดับผู้บริหารสูงสุด ซึ่งรวมถึง  •  ยอมรับว่าลูกจ้างที่สามารถเป็นตัวแทนของลูกจ้างด้วยกันนั้นคือ ผู้พิทักษ์
 การวางกลไกติดตามตรวจสอบและธรรมาภิบาลที่มีประสิทธิผล การลงมืออย่างรวดเร็วและรอบคอบทันทีที่เกิด   สิทธิมนุษยชนของตนเองที่ชอบธรรมและเชื่อถือได้มากที่สุด

 ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนจากการเปลี่ยนแปลงในปฏิบัติการหรือกิจกรรมของบริษัท (เช่น การเปลี่ยนเจ้าของบริษัท   •  ยอมรับว่าลูกจ้างคือ แหล่งข้อมูลจริงและข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสภาพ
 การเปิดตลาดใหม่ การจัดซื้อวัตถุดิบใหม่ หรือการจับมือกับพันธมิตรรายใหม่ เป็นต้น)   การทำางาน และมีบทบาทสำาคัญในการแจ้งให้องค์กรรับรู้เกี่ยวกับความเสี่ยง

                                 สิทธิมนุษยชนด้านแรงงาน ทั้งที่เกิดขึ้นแล้วและมีแนวโน้มว่าจะเกิด
    กำาหนดหรือทบทวนนโยบาย วิถีปฏิบัติ กลยุทธ์ และระบบการตัดสินใจต่างๆ ที่เหมาะสม ในการบรรเทา
 ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน รวมถึงการกระทำาต่อไปนี้






 24                                                                                                       25
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30