Page 21 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 21
ประโยชน์ทางธุรกิจของ HRDD 4
ในเดือนสิงหาคม 2558 มีการสำารวจนโยบายบรรษัทข้ามชาติทั่วโลกของ Centre for Human Rights in Practice การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านยังส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผู้บริหาร
มหาวิทยาลัย Warwick สหราชอาณาจักร จำานวน 225 บริษัทในหลายอุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม เทคโนโลยี ให้ความสำาคัญต่อประเด็นนี้อย่างจริงจัง เช่น ใช้เป็นหนึ่งในเหตุผลการตัดสินใจของบริษัท จนนำาไปสู่การเปลี่ยนทัศนคติ
อาหารและเครื่องดื่ม แร่ น้ำามันและก๊าซธรรมชาติ การเงิน พบว่า มี 76 บริษัทที่ระบุว่ามีกระบวนการตรวจสอบด้าน ของฝ่ายต่างๆ ได้ (Harrison, 2013) การที่บริษัทพัฒนาผลการดำาเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของตนเองและสร้างความ
สิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Centre for Human Rights in Practice, 2015) ส่วนงานวิจัยเรื่อง “Exploring Human Rights เปลี่ยนแปลงต่อโครงสร้างการทำางานภายในบริษัทได้มากกว่าการดำาเนินการเมื่อมีความท้าทายจากภายนอกเท่านั้น
Due Diligence” ที่จัดทำาโดย The British Institute of International and Comparative Law (BIICL) และบริษัทกฎหมาย จากการสำารวจของ German Global Compact Network และ eConsense เมื่อปี 2557 เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการ
Norton Rose Fulbright เผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2559 เปิดเผยว่า ได้จัดทำาแบบสอบถามผู้แทนจากบริษัทต่างๆ ทั่วโลก จัดทำาการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านของบริษัท 39 แห่ง พบว่า นอกจากปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความเสี่ยง
จำานวน 152 แห่ง ทั้งบริษัทข้ามชาติ บริษัทระดับชาติทั้งขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2558 ด้านชื่อเสียง ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและการที่บริษัทเข้าร่วมเป็นสมาชิกของเครือข่ายด้านธุรกิจและ
โดย 2 ใน 3 เป็นผู้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และสัมภาษณ์ผู้จัดการอาวุโสอีก 14 บริษัท จากธุรกิจ 4 ประเภท สิทธิมนุษยชนแล้ว ปัจจัยภายใน ซึ่งหมายถึงการที่ผู้บริหารระดับสูงแสดงความตั้งใจที่จะสนับสนุนการคุ้มครอง
ได้แก่ ธุรกิจที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต (รวมถึงพลังงานและเหมืองแร่) การเงิน ยา และเทคโนโลยี สิทธิมนุษยชนอย่างจริงจังผ่านช่องทางต่างๆ เช่น มีข้อผูกมัดทางนโยบาย การแสดงให้เห็นว่าสิทธิมนุษยชนจะกลายเป็น
งานวิจัยนี้มีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 50 ได้จัดทำากระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน ข้อได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจได้ ก็เป็นสิ่งสำาคัญไม่แพ้กัน
เหตุผลสำาคัญประการหนึ่งของบริษัทที่ดำาเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน คือ เพื่อลดความเสี่ยง กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านถือเป็น “A Game-Changer” สำาหรับบริษัทต่างๆ เนื่องจาก
ด้านชื่อเสียงของบริษัทจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งสามารถนำาไปสู่ผลกระทบทางธุรกิจของบริษัทได้ เมื่อเปรียบเทียบ สามารถเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับสิทธิมนุษยชนจากการ “Naming and Shaming” ที่มาจากผู้เล่นภายนอก
ในประเภทอุตสาหกรรมและประเทศเดียวกัน บริษัทที่เคยมีกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนมักมีแนวโน้มที่จะดำาเนินการ ซึ่งสะท้อนความล้มเหลวของบริษัทในการปกป้องสิทธิมนุษยชน มาเป็น “Knowing and Showing” ซึ่งเป็นผลการปฏิบัติ
ตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านมากกว่า งานของบริษัท แนวทางเช่นนี้ก่อให้เกิดประโยชนมากมาย แทนที่จะรอให้นักรณรงค์หรือสื่อสร้างผลกระทบทางลบแก่
์
บริษัท
การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านส่งผลให้บริษัทสามารถรับรู้ถึงกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น
จากการดำาเนินการของบริษัทและนำาไปสู่การแก้ปัญหาได้ บริษัทที่ตอบแบบสอบถามในงานวิจัยของ BIICL ระบุว่า นอกจากความกังวลต่อความเสี่ยงด้านชื่อเสียง แรงผลักดันจากภาครัฐก็มีส่วนสำาคัญต่อการจัดทำาการตรวจสอบ
ร้อยละ 77 ของบริษัทที่ดำาเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน พบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นจาก ด้านสิทธิมนุษยชนรอบด้านของธุรกิจ ยกตัวอย่างเช่น กฎหมาย Burma Responsible Investment Requirements
การดำาเนินงานของบริษัท ปัญหาที่ค้นพบกว่าร้อยละ 74 ได้รับการแก้ไข และร้อยละ 74 เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ของสหรัฐอเมริกาที่กำาหนดให้บริษัทสัญชาติอเมริกันทุกบริษัทที่ลงทุนในเมียนมาร์จำานวน 500,000 เหรียญสหรัฐขึ้นไป
เมียนมา
บุคคลที่ 3 ขณะที่ผู้ที่ไม่ได้ดำาเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านเพียงร้อยละ 19 สามารถระบุผลกระทบ ต้องจัดทำารายงานด้านสิทธิมนุษยชนเสนอต่อกระทรวงต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา บริษัทโคคา-โคลา ได้เริ่มต้น
ด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากการดำาเนินงานของบริษัท และร้อยละ 29 ที่เห็นว่าการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบริษัท จัดทำารายงานด้านสิทธิมนุษยชนจากกฎหมายนี้ ผลจากการดำาเนินการทำาให้บริษัทได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ
เกี่ยวข้องกับบุคคลที่สาม หลายด้าน เช่น การเลือกปฏิบัติทางเพศในการจ้างงาน ผู้หญิงได้รับค่าจ้างน้อยกว่าผู้ชาย บริษัทจึงจัดอบรมให้ความรู้
แก่บริษัทคู่ค้าเพื่อแก้ไขปัญหานี้ นอกจากนี้ บริษัทยังเริ่มต้นประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทานน้ำาตาล
กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน ไม่เพียงเผยข้อมูลที่บริษัทอาจไม่เคยรับรู้มาก่อน แต่ยัง ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิที่ดิน แรงงานเด็ก และแรงงานบังคับใน 28 ประเทศ หลังจากเห็นว่าการดำาเนินงานของบริษัท
สร้างความเปลี่ยนแปลงต่อบริษัทและห่วงโซ่อุปทานของบริษัทได้อีกด้วย ตัวอย่างเช่น การจัดทำารายงานประเมิน ได้ส่งผลกระทบต่อสิทธิแรงงาน สิทธิเด็ก และสิทธิที่ดินในห่วงโซ่อุปทานอย่างไร
สิทธิมนุษยชนของบริษัทยูนิลีเวอร์ ทำาให้บริษัทรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการทำางานของแรงงานในห่วงโซ่อุปทานของ
บริษัท จนนำาไปสู่การแก้ปัญหา เช่น ลดชั่วโมงการทำางานของพนักงานในประเทศไทยหลังจากพบว่าหนึ่งในผู้จัดหาวัตถุดิบ แนวโน้มของการบังคับทางกฎหมายยังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มสหภาพยุโรปที่ได้ออกกฎระเบียบ
3
ของบริษัททำางานติดต่อกันโดยไม่มีวันหยุด บริษัทจึงสั่งให้บริษัทคู่ค้าจัดทำาแผนเยียวยา ซึ่งใช้เวลาแก้ไข 3 เดือน บริษัท EU Non-Financial Reporting Directive of 2014 กำาหนดให้บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และมีลูกจ้าง 500
จึงจะแน่ใจว่าพนักงานมีวันหยุดทุก 7 วัน (Unilever, 2015) หรือการศึกษาแรงงานในประเทศเวียดนามซึ่งเป็นห่วงโซ่อุปทาน คนขึ้นไป จัดทำารายงานเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ในรายงานต้องเปิดเผยนโยบาย ผลการดำาเนินงาน
ของบริษัท พ.ศ. 2554 พบว่า แม้ว่ายูนิลีเวอร์จะมีนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน กระบวนการตรวจสอบด้าน และผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน รวมทั้งเปิดเผยแนวทางการ
สิทธิมนุษยชนรอบด้าน และมีกลไกการเยียวยา แต่ยูนิลีเวอร์ก็ไม่ได้ตรวจสอบในทางปฏิบัติ หลังจากการตรวจสอบ แก้ไขปัญหา (Business & Human Rights Resource Centre, 2014) มีผลบังคับใช้ในปี 2560 ความตื่นตัวจากการละเมิด
ส่งผลให้ผู้จัดหาวัตถุดิบตระหนักถึงความคาดหวังด้านมาตรฐานแรงงานของยูนิลีเวอร์มากขึ้น และได้รับการฝึกอบรม สิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ยังก่อให้เกิดกฎหมายที่เกี่ยวข้องอีกหลายฉบับในหลาย
และแนวปฏิบัติตามนโยบายใหม่ของบริษัท ในปี 2558 มีการสำารวจว่าร้อยละ 70 ของบริษัทเหล่านี้กังวลว่ายูนิลีเวอร์ ประเทศ เช่น UK Modern Slavery Act 2015 ที่กำาหนดให้บริษัทมีกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน
จะไม่รับซื้อสินค้าของตนเองหากไม่จัดการปัญหาแรงงาน ปัญหาด้านชั่วโมงการทำางานที่มากเกินไปและการใช้แรงงาน เพื่อเป็นกรอบในการป้องกัน บรรเทาความเสี่ยงจากการค้าทาสสมัยใหม่ในห่วงโซ่อุปทาน California Transparency in
เพื่อเป็นกรอบในการป้องกัน บรรเทาความเสี่ยงจากการค้าทาสสมัยใหม่ในห่วงโซ่อุปทาน ส่วนในสหรัฐอเมริกา
สัญญาจ้างได้รับการแก้ไข เพราะผู้จัดหาวัตถุดิบตระหนักถึงความคาดหวังด้านมาตรฐานแรงงานของยูนิลีเวอร์มากขึ้น California Transparency in Supply Chain Act 2010 ก�าหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจในรัฐแคลิฟอร์เนียเปิดเผยข้อมูล
Supply Chain Act 2010 กำาหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจในรัฐแคลิฟอร์เนียเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่
และได้รับการฝึกอบรมและแนวปฏิบัติตามนโยบายใหม่ของบริษัท อุปทาน
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
3 ดูตัวอย่างกฎหมายในประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านเพิ่มเติมได้ที่
https://www.cambridge.org/core/journals/business-and-human-rights-journal/article/human-rights-due-diligence-in-law-and-practice-good-practices-and-challenges-for-business-enter-
prises/0306945323DD6F6C9392C5DBDE167001gence-in-law-and-practice-good-practices-and-challenges-for-business-enterprises/0306945323DD6F6C9392C5DBDE167001
20 21