Page 12 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 12

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑






            ในส่วนของประเทศไทย ได้จัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน   กสม. ปฏิบัติหน้าที่ข้างต้น โดยค�านึงถึงการความผาสุก
            แห่งชาติ  (กสม.)  ขึ้นโดยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ     ของประชาชนชาวไทยและผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติ

            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มีอ�านาจหน้าที่   เป็นส�าคัญ โดยได้จัดท�ากรอบการประเมิน ศึกษาและ
            ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ตามที่   ประมวลข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐภาคเอกชนและข้อมูล
            ก�าหนดในพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน         จากการปฏิบัติงานของ กสม. รวมทั้งได้น�าระบบเทคโนโลยี
            แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ  สารสนเทศมาใช้สนับสนุนในการติดตามและรวบรวมข้อมูล

            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กสม. มีสถานะ     สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน และเพื่อน�าไปสู่การพัฒนา
            เป็น “องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” มีหน้าที่และอ�านาจ  ระบบฐานข้อมูลต่อไปด้วย ส่วนการประเมินและวิเคราะห์
            ตามที่ปรากฏในหมวด ๑๒ ส่วนที่ ๖ มาตรา ๒๔๗ ของ        สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน จะพิจารณาบนหลักการ
            รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐        ด้านสิทธิมนุษยชนตามที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย

            และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย             หรือหนังสือสัญญาที่ประเทศไทยเป็นภาคี และมีพันธกรณี
            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  พ.ศ.  ๒๕๖๐          ที่จะต้องปฏิบัติตาม
            (พรป.กสม.) โดยก�าหนดให้ กสม. มีหน้าที่จัดท�ารายงาน
            ผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน               กสม. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การพัฒนากระบวนการท�างาน

            ของประเทศไทย (พรป.กสม. มาตรา ๒๖) ซึ่งต้องกระท�า     ที่อยู่บนฐานข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย การน�าเทคโนโลยี
            แบบสรุป ประกอบด้วยปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ       สารสนเทศมาช่วยสนับสนุนการท�างาน รวมถึงการพัฒนา
            ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยควรด�าเนินการ   ฐานข้อมูลซึ่งจะมีขึ้นในโอกาสต่อไป จะช่วยให้รายงาน
            ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีปฏิทิน    ผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน

            เพื่อน�าเสนอต่อรัฐสภา และคณะรัฐมนตรี รวมทั้งเผยแพร่  ของประเทศไทยฉบับนี้มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น อันอาจเป็น
            ต่อประชาชน (พรป.กสม. มาตรา ๔๐) ทั้งนี้ กสม. ต้องจัด  ประโยชน์ต่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
            ให้มีแผนการด�าเนินการจัดท�ารายงานดังกล่าวเพื่อให้   ในสังคมไทยให้สอดคล้องตามหลักการสิทธิมนุษยชน
            การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปโดยไม่ชักช้าและแล้วเสร็จ     อย่างน้อยตามมาตรฐานที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ

            ตามระยะเวลาที่ก�าหนดไว้ (พรป.กสม. มาตรา ๔๑) ในขณะที่   แห่งราชอาณาจักรไทยต่อไป
            คณะรัฐมนตรีต้องด�าเนินการปรับปรุงแก้ไขปัญหา
            ตามความเหมาะสมโดยเร็วภายหลังจากที่ได้รับทราบรายงาน
            ดังกล่าว และในกรณีใดที่มิอาจด�าเนินการได้หรือต้องใช้

            เวลาในการด�าเนินการ ให้แจ้งเหตุผลให้ กสม. ทราบ
            โดยไม่ชักช้า (พรป.กสม. มาตรา ๔๓)
                                                                                 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                                                                                กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒




















                                                                                                               11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17