Page 55 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 55

คุณสุเพ็ญศรี พึ่งโคกสูง

              ผู้จัดกำรมูลนิธิส่งเสริมควำมเสมอภำคทำงสังคม


                                                         “การด�าเนินงานในพื้นที่แม่สอดถือเป็นกรณีตัวอย่างที่ดีและ

                                               อยากให้พัฒนางานขึ้นไปเป็นศูนย์คุ้มครองบุคคลผู้ถูกกระท�าความรุนแรง
                                               ในครอบครัว อย่างไรก็ตามต้องมีการพัฒนาทักษะของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
                                               เพื่อน�าไปสู่การสนับสนุน และให้มีการชักชวนผู้ชายเข้ามามีส่วนร่วมในการ

                                               ด�าเนินงานเพื่อสร่างความร่วมมือระหว่างกันที่จะร่วมดูแล และพยายาม
                                               ชักชวนหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามาด�าเนินงานร่วมกัน”








              ปัญหาการด�าเนินการของรัฐในการส่งเสริมให้ผู้หญิงมุสลิมเข้าถึงความยุติธรรม


              พรสม เปาว์ปราโมท

              รองอธิบดีกรมกิจกำรสตรีและสถำบันครอบครัว
              กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ (พม.)



                                                         “การด�าเนินงานเรื่องความรุนแรงในครอบครัว จะมีหลายกรม
                                               ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวด�าเนินการ รวมถึงกรมกิจการ

                                               เด็กและเยาวชนที่รับผิดชอบบ้านพักเด็กและครอบครัว โดยในแต่ละจังหวัด
                                               จะมีเจ้าหน้าที่ส�านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
                                               ท�าหน้าที่ประสานงาน นอกจากการท�างานของระหว่างกรมในกระทรวงแล้ว

                                               ยังท�างานในรูปแบบของสหวิชาชีพ เนื่องจาก พม. ไม่สามารถท�างานโดย
                                               ล�าพัง จ�าเป็นต้องประสานงานกับเจ้าหน้าที่ต�ารวจ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล

                                               และสาธารณสุข อย่างไรก็ตามพบว่า เจ้าหน้าที่ประสบปัญหาในการท�างาน
                                               ทั้งการถูกข่มขู่หรือถูกฟ้องร้อง เป็นต้น
                     ส�าหรับเจ้าหน้าที่ประจ�าศูนย์ความรุนแรงในครอบครัวเป็นเจ้าหน้าที่ของพัฒนาสังคมและความมั่นคง

              จังหวัดตาก ซึ่งเป็นต�าแหน่งพนักงานจ้างเหมา เนื่องจากหน่วยงานก็ยังไม่ได้รับความส�าคัญในเรื่องของบุคลากร
              เท่าที่ควร ท�าให้เกิดปัญหาการเปลี่ยนงานบ่อยครั้ง ซึ่งถือเป็นโจทย์ส�าคัญที่จะต้องด�าเนินการแก้ไขปัญหาต่อไป

              เนื่องจากเจ้าหน้าที่ประจ�าศูนย์ความรุนแรงในครอบครัวถือเป็นกลไกเดียวที่ท�างานอยู่ในพื้นที่”

              ประเด็นผู้หญิงมุสลิม: โจทย์ร่วมของหลายหน่วยงานภาครัฐที่จะต้องท�างานร่วมกับภาคประชาสังคม


                     “ประเด็นผู้หญิงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถือเป็นประเด็นที่ส�าคัญมาก และเป็นประเด็นเฉพาะเจาะจงที่
              คณะกรรมการประจ�าอนุสัญญา CEDAW มีความห่วงใยอย่างมาก โดยให้เร่งด�าเนินการและรายงานให้ทราบภายใน
              ช่วงระยะเวลา ๒ ปี ซึ่งถือเป็นโจทย์ใหญ่ที่ไม่ใช่โจทย์ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กระทรวง

              เดียวแต่เป็นโจทย์ของหน่วยงานภาครัฐที่จะต้องท�างานร่วมกับภาคเอกชนทั้งหมด


                44     ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60