Page 74 - รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
P. 74

รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ
        ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน

        ทั้งนี้สัญญาสัมปทานฉบับนี้มีอายุ 60 ปี ซึ่งสามารถต่ออายุสัญญาได้อีกตามที่จะ
                    99
        ตกลงในอนาคต  โดยก่อนหน้านี้ บมจ. อิตาเลียนไทยฯ เริ่มมีบทบาทในฐานะ
                                                                   100
        เป็นผู้ท�าการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ในการพัฒนาโครงการ
               ในช่วงนี้ ทาง บมจ. อิตาเลียนไทยได้ใช้การจัดตั้งบริษัททวาย ดีเวล็อป-

        เมนต์ จ�ากัด (Dawei Development Company Limited: DDC) ซึ่งเป็นบริษัทร่วม
        ทุนระหว่าง บมจ.อิตาเลียนไทยฯ และ บริษัท แม็กซ์เมียนมา (Max Myanmar) โดย
        ถือหุ้น 75% และ 25% ตามล�าดับ  เพื่อท�าหน้าที่บริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยบมจ.
        อิตาเลียนไทย ได้ถือหุ้นบริษัทดังกล่าวผ่านบริษัท Dawei Development Company
        Limited (BVI) จดทะเบียนในหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน ซึ่ง บมจ. อิตาเลียนไทยฯ  ถือหุ้น
        อยู่ในบริษัท Dawei Development Company Limited (BVI) ในสัดส่วน 75% โดย
                       101
        บริษัทย่อยอีกต่อหนึ่ง
               นอกจากนี้ในช่วงเวลาเดียวกัน (พ.ศ.2553- 2556) บมจ. อิตาเลียนไทยฯ ได้
        จัดตั้งบริษัทย่อยในต่างประเทศ  เพื่อการระดมทุนและบริหารโครงการฯ  ซึ่งจัดตั้ง

        บริษัทย่อยใน  ฮ่องกง,  หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน  และสาธารณรัฐมอริเชียส  เป็นจ�านวน
                                                  102
        มากกว่า 22 บริษัท ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับโครงการทวายฯ
               ในปี 21 พฤศจิกายน 2556 บมจ. อิตาเลียนไทยฯ หมดสัญญาสัมปทาน
        การเป็นผู้พัฒนาโครงการทวายอย่างเป็นทางการ  โดยในกรอบความตกลงฉบับใหม่
        ระบุว่าทาง  บมจ.  อิตาเลียนไทยฯ  จะได้รับเงินที่ลงทุนไปก่อนหน้าจากทางบริษัท
        นิติบุคคลเฉพาะกิจ (SPV) ภายใต้ชื่อบริษัท ทวาย เอสอีแซด ดีเวล๊อปเมนต์ (Dawei
        SEZ Development Co., Ltd.) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างภาครัฐไทย – พม่า เพื่อ
        บริหารโครงการทวาย  และบมจ.  อิตาเลียนไทยฯ  จะยังคงมีหน้าที่ในการซ่อมแซม
                                                                   103
        และบ�ารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน (Maintenance Work) ที่ได้มีการก่อสร้างไปแล้ว
        ดังนั้น นับตั้งแต่นั้นมา บมจ. อิตาเลียนไทยฯ จึงไม่ได้มีสถานะเป็นผู้พัฒนาโครงการ
        แต่สถานะผู้พัฒนาโครงการตกเป็นของภาครัฐ

        99  จดหมายของกรรมการและผู้จัดการ บมจ. อิตาเลียนไทยฯ ถึง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่
        CSD 2553/049 วันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 เรื่อง ลงนามใน Framework Agreement เพื่อพัฒนาโครงการ
        ทวาย และรายงานการเงินประจ�าปี 2553 หน้า 40.
        100  มูลนิธิฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ.โครงการท่าเรือน�้าลึกทวาย: มองให้ไกลกว่าผลประโยชน์, หน้า 4.
        101  อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนต์, รายงานประจ�าปี 2554,
        102 อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์, รายงานประจ�าปี 2555, หน้า 7 และ 84
        103  อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์, รายงานการเงินประจ�าปี 2556.
        70
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79