Page 20 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 20

ถูกกดขี่แรงงาน ดังนั้นความมั่นคงในที่ดินเป็นสิ่งที่ส�าคัญมาก ที่ดินจึงเป็นความมั่นคง
               ของชีวิต
                      “ที่ผ่ำนมำพวกเรำชำวบ้ำนไม่เคยเรียกร้องโฉนดที่ดินที่เป็นรำยบุคคล

               เพรำะสุดท้ำยอำจจะหลุดมือได้ แต่เรำต้องกำรโฉนดที่ดินชุมชน ซึ่งเป็นของชุมชน
               ไม่สำมำรถซื้อขำยได้ เพื่อป้องกันที่ดินหลุดมือไปอยู่ในมือของนำยทุน ชำวบ้ำน
               อยำกมีที่ดินของชุมชนและสำมำรถท�ำกินและอำศัยอยู่ได้อย่ำงไม่หวำดกลัว”
                      นับจากปี 2557 เป็นต้นมา นโยบายค�าสั่ง คสช.ฉบับที่ 64/2557 และการ
               ด�าเนินนโยบายทวงคืนผืนป่า ส่งผลกระทบต่อชนเผ่าพื้นเมืองทั่วประเทศมีหลาย
               ชุมชนถูกจับกุมในข้อหาบุกรุกท�าลายป่าบนที่ดินท�ากินตั้งแต่บรรพบุรุษ สิ่งเหล่านี้

               ท�าให้ “คะติมะ” ตั้งใจว่าจะต้องท�างานเพื่อส่งเสริมสิทธิของชาวบ้านต่อไป เธอเห็นว่า
               การต่อสู้ของผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนเพื่อสิทธิที่ดินที่อยู่อาศัยและที่ท�ากิน
               เป็นเรื่องของความคิด เพราะในกระบวนการต่อสู้ของชายและหญิงไม่มีความ
               แตกต่างกัน จะแตกต่างกันแต่ก็เพียงร่างกายเท่านั้น โดยเฉพาะสังคมภายนอกที่ให้

               ค่าของความเป็นหญิงและชายที่ไม่เท่าเทียมกัน
                      ในสังคมชนเผ่าชาติพันธุ์ “คะติมะ” บอกว่า การให้ความยอมรับกับ “ผู้หญิง”
                ในฐานะ “นักปกป้อง” ไม่ใช่เรื่อง่าย เพราะความเชื่อและวัฒนธรรมในสังคมชนเผ่า
               ชาติพันธุ์ ผู้ชายเท่านั้นที่เป็นผู้น�า
                      “ถ้าผู้หญิงแต่งงานแล้ว ออกไปนอกบ้าน ก็จะถูกมองว่าไม่ใช่ผู้หญิงที่ดี
               ชนเผ่าชาติพันธุ์ ที่เป็นผู้หญิงหากจะเดินทางไปเรียกร้องอะไรก็จะมีปัญหา เพราะ

               วัฒนธรรมตรงนี้ แต่ส่วนตัวฉันถือว่าฉันได้รับความยอมรับพอสมควรจากชุมชน
               อาจจะเป็นเพราะเป็นผู้หญิงคนแรกที่เรียนจบปริญญาตรี และเป็นคนที่ต้องเจอกับ
               ปัญหาที่ใหญ่ที่สุด เพราะพ่อถูกยิงตาย ปัจจัยหลายอย่างที่ท�าให้คนในชุมชน เห็นว่า
               เราผ่านมาได้ และสามารถให้ค�าปรึกษากับคนอื่นได้ เขาก็ยอมรับเราตรงนี้”
                      จนวันนี้ คะติมะ ยังคงเรียกร้องความเป็นธรรมเพื่อ “พ่อ” และชาวบ้าน

               ในชุมชนสันป่าเหียง แม้จะเป็นความยกล�าบากอย่างมากส�าหรับหญิงชาติพันธุ์
               อย่างเธอ แต่คะติมะ ก็ไม่เคยท้อแท้ เธอเข้าร่วมในการประชุมอบรมต่างๆ ที่จัดขึ้น
               เพื่อบอกเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นในชุมชนให้เป็นที่รับรู้ ด้วยความหวังว่าสักวัน ปัญหา
               การละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อชนเผ่าพื้นเมืองจะหมดไป และความยุติธรรมจะกลับคืน
               มาสู่มนุษย์ทุกคน

                                                19
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25