Page 19 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 19
นอกจากนี้ผู้น�าชุมชนที่เป็นคนเมือง ยังกลั่นแกล้งชาวลีซู ด้วยการยึดที่ดิน
ท�ากิน เพื่อปลูกป่าจ�านวนหลายแปลง กีดกันการเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อการ
เพาะปลูก แต่ในทางตรงกันข้าม กลับยอมให้ญาติพี่น้องของตัวเองเข้ามาใช้ประโยชน์
ในที่ดินได้
ในขณะที่ปกป้องสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ ครอบครัวของเธอก็เป็นเหยื่อของ
การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
ในเดือนพฤษภาคม 2555 พ่อของ คะติมะ ถูกยิงจนเสียชีวิตระหว่างออก
ตามหาควายที่หายไป ในป่าข้างกับที่ดินที่ถูกยึดไป ร่างของพ่อเธอถูกกระสุนปืน
พุ่งเข้าใส่ร่างกายจ�านวน 5 นัด จากกลุ่มผู้น�าชุมชน โดยให้พวกเขาเหตุผลว่า พ่อของ
เธอบุกรุกป่าชุมชน และยิงใส่เจ้าหน้าที่ก่อนจึงถูกวิสามัญฆาตกรรม
การเสียชีวิตของพ่อท�าให้ คะติมะ ต้องลุกขึ้นสู้ เพื่อเรียกร้องความยุติธรรม
ให้กับครอบครัว โดยเริ่มต้นด้วยหาปรึกษาสมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรม
ของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย และเครือข่ายลีซูแห่งประเทศไทย และได้รับ
ค�าแนะน�าให้ท�าเรื่องร้องเรียนไปยังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
หลังจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้ลงพื้นที่พร้อมหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องตรวจสอบเท็จจริงในการเสียชีวิตพ่อของเธอ แต่ผู้ที่เกี่ยวข้องในเหตุการณ์
ปฏิเสธที่จะให้ข้อมูล แต่ทว่า “คะติมะ” ไม่ยอมแพ้ เธอฟ้องร้องต่อศาลจังหวัด
เชียงใหม่ให้พิสูจน์การเสียชีวิตของพ่อซึ่งจากหลักฐานต่างๆ ที่ปรากฏ ยืนยันได้ว่า
พ่อของเธอคือผู้บริสุทธิ์ และให้เจ้าหน้าที่ต�ารวจท�าส�านวนใหม่ แต่เรื่องนี้กลับเงียบ
หายไป
“พ่อเป็นศพแรก ซึ่งถ้ำฉันไม่ลุกขึ้นสู้อำจจะมีศพต่อไป ฉันในฐำนะที่เป็น
ลูกหลำนของชุมชนนี้จะต้องลุกขึ้นมำต่อสู้ และเรียกร้องควำมเป็นธรรมให้กับชุมชน
แม้จะต้องต่อสู้กับควำมกลัวจำกอิทธิพลต่ำงๆ เพรำะถ้ำฉันไม่ลุกขึ้นมำสู้ ชำวบ้ำน
ก็จะยิ่งถูกรังแก”
ทุกวันนี้ “คะติมะ” กลายเป็นที่พึ่งของชาวบ้านในการให้ความช่วยเหลือ
เรื่องการถูกละเมิดสิทธิในที่ดินท�ากินและที่อยู่อาศัย
ในมุมมองของเธอ คะติมะเห็นว่า ที่ดินมีความจ�าเป็นต่อชีวิตของชาวบ้าน
อย่างมาก เพราะหากไม่มีที่ดินท�ากิน จะเกิดปัญหาตามมามากมาย ทั้งการอพยพ
เข้าสู่เมืองเพื่อมาขายแรงงาน มีความเสี่ยงสูงที่จะเข้าสู่กระบวนการค้ามนุษย์ การ
18