Page 17 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 17
ที่เกิดขึ้น คนตัวเล็กตัวน้อย ลุกขึ้นมำใช้สิทธิ ในภำวะที่ไม่มีช่องทำงเปิด สะท้อน
ปัญหำควำมไม่เป็นธรรม”
“เมื่อไม่มีกลไกเครื่องมือเปลี่ยนแปลง ลดแรงเสียทำน แถมผู้มีอ�ำนำจรวบตึง
ในมือยังไม่ฟังเสียงประชำชน ท�ำให้เสี่ยงที่จะยิ่งเกิดกำรละเมิดสิทธิที่รุนแรง
มำกขึ้น ช่วงมี พ.ร.บ. ประชำมติ เรำยังถูกตั้งข้อกล่ำวหำ ขนำดเรำที่เคลื่อนไหวพอรู้สิทธิ
ตัวเอง ยังโดนเจ้ำหน้ำที่รัฐท�ำอย่ำงนี้ถ้ำเป็นพี่น้องยิ่งจะโดนหนัก” “เป็นควำมเสี่ยง
ที่ต้องใช้พลังของประชำชนอย่ำงมำกในภำวะที่ไม่มีทำงเลือก มันก็ต้องท�ำ เพรำะ
ถ้ำไม่ท�ำชำวบ้ำนก็ต้องสูญเสีย ก็ต้องยอมแลก ไม่แลกสิทธิเรำก็ต้องโดนละเมิด
มำกกว่ำนี้” กับการเป็นผู้หญิงตัวเล็กๆ ที่ต้องมาต่อสู้เพื่อเรื่องใหญ่ๆ ที่ท้าทาย
อ�านาจรัฐ อ�านาจทุน เช่นนี้ ณัฐพร เห็นว่า ความเป็นผู้หญิงมีทั้งข้อดีและข้อเสีย
ข้อดีคือ ช่วยลดท่าทีความรุนแรงของการต่อสู้ ทั้งการพูดคุย การเผชิญหน้า และ
ผู้หญิงยังมีความมุ่งมั่น อดทนกับการต่อสู้ “ส่วนข้อด้อย เรำผู้หญิงในวงกำรก็
ถูกมอง อำยุน้อยยิ่งเป็นผู้หญิงด้วย ก็ต้องใช้ควำมพยำยำมนำนมำกกับกำรออกมำ
ต่อสู้ เพรำะมีเรื่องควำมน่ำเชื่อถือ มันยังมีกำรมองให้ค่ำหรือมีอคติเล็กๆ ซึ่งต้อง
ใช้เวลำพิสูจน์นิดนึง ว่ำเรำจริงใจ แน่วแน่ ทุ่มเท เรำไม่ใช่เข้ำมำเพื่อผ่ำนๆ” วันนี้
ณัฐพร ไม่ได้ท�างานเฉพาะในระดับท้องถิ่น แต่เธอยังสะท้อนปัญหาของชาวบ้านไปสู่
ระดับชาติ และระดับสากล เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางนโยบาย
เธอมีบทบาทส�าคัญในการน�าเสนอปัญหาของธุรกิจที่มีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน
ผ่านกลไกระหว่าประเทศ เช่น การมีส่วนร่วมในการท�ารายงานทบทวนสถานการณ์
สิทธิมนุษยชน (ยูพีอาร์) ไปยังสหประชาชาติ รวมทั้งผลักดันให้เกิดแผนปฏิบัติการ
ชาติ ในเรื่อง “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” ร่วมกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
กระทรวงยุติธรรม โดยเฉพาะการท�าธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบต่อสิทธิชุมชน
สิ่งแวดล้อมรวมถึงสุขภาพของประชาชนท้องถิ่น
วันนี้แม้ ณัฐพร จะถูกตั้งข้อกล่าวหา อาจถูกฟ้องร้องด�าเนินคดี แต่เธอก็
ไม่ท้อถอย ยังคงยืนเคียงข้างชาวบ้านอีสานในการปกป้องสิทธิเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม รวมถึงสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
16