Page 16 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 16
เรียกไปพบ ถูกขอให้ยกเลิกการประชุมชาวบ้าน เพราะอาจเป็นการขัดค�าสั่ง คสช.
ท�าให้ชาวบ้านมีความหวาดกลัวมากขึ้น บ้านนามูล-ดูนสาด เป็นอีกพื้นที่ในภาคอีสาน
ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการขนาดใหญ่ ชาวบ้านต่างมีความกังวลว่า โรงแยกแก๊ส
จะมีผลกระทบกับที่นา ที่ท�ากินของชาวบ้านอย่างไร แม้จะมีกระบวนการรับฟัง
แต่การจัดรับฟังความคิดเห็นก็ไม่เปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
ไม่สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และเปิดเผย “หลำยคนไม่รู้ว่ำด้วยซ�้ำ
ว่ำมันคืออะไร เขำอ้ำงว่ำจะมำส�ำรวจ แต่มีแผนว่ำจะเริ่มสร้ำงแล้ว เตรียมท�ำ EIA
จะมีโรงแยกก๊ำซตรงนี้ ไม่ใช่แค่เจำะอย่ำงเดียว ยังไม่รวมเรื่องท่อก๊ำซ ชำวบ้ำน
จึงไปยื่นหนังสือ เคลื่อนไหวเพื่อชะลอออกใบอนุญำต” ณัฐพร กับเพื่อนๆ
นักกิจกรรมคนรุ่นใหม่และชาวบ้านรวมตัวกันในนามกลุ่ม “อีสานใหม่” เพื่อปกป้อง
ทรัพยากรในพื้นที่ภาคอีสาน ซึ่ง “ณัฐพร” มองว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นเกิดจากการที่
รัฐก�าหนดนโยบายโดยขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน และไม่ฟังเสียงคนท้องถิ่น
ปี 2559 บทบาทของ ณัฐพร ถูกจับตามองโดยเจ้าหน้าที่รัฐมากขึ้นเมื่อเธอออกมา
เคลื่อนไหวร่วมกับชาวบ้านในกิจกรรมที่เรียกว่า “เดินเพื่อสิทธิ” - Walk for Rights
โดย ณัฐพร และชาวบ้านร่วมกันเดินเท้าไปพบปะพูดคุยกับพี่น้องชาวบ้านที่ถูกละเมิด
สิทธิในหลายพื้นที่ในภาคอีสานเพื่อปลุกประชาชนและสังคมให้หันมาสนใจและ
เรียกร้องเพื่อน�าไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง กิจกรรมเดินเพื่อสิทธิ - Walk for
Rights ท�าให้ ณัฐพร และชาวบ้านถูกเพ่งเล็งจากเจ้าหน้าที่รัฐมากขึ้น โดยถูกห้าม
ไม่ให้พูดในประเด็นสิทธิของชาวบ้าน ทั้งที่เรื่องสิทธิชุมชน สิทธิพลเมือง สิทธิ
ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิทธิการเมืองนั้นล้วนแต่เป็นเรื่องเดียวกัน
ทั้งนี้ในระหว่างการท�ากิจกรรม เดินเพื่อสิทธิ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2559 แกนน�า
ชาวบ้าน พ่อเด่น ค�าแหล้ นักต่อสู้เรื่องที่ดินที่ท�ากินแห่งบ้านโคกยาว ต.ทุ่งลุยลาย
อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิได้หายตัวไป จนปัจจุบันไม่มีใครทราบชะตากรรมของนายเด่น
อีกเลย ปัญหาในภาคอีสานมีมากมาย ทั้งผลกระทบจากการท�าเหมืองแร่ รวมถึง
เรื่องปิโตรเลียม หรือปัญหาการจัดการน�้า ณัฐพร ฉายภาพสถานการณ์สิทธิ
มนุษยชนในบ้านเราเวลานี้ว่า “ชำวบ้ำนก�ำลังตื่นตัว เพรำะเห็นภำพชัดจำกปัญหำ
15