Page 18 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 18
“พ่อเป็นศพแรก ซึ่งถ้ำฉันไม่ลุกขึ้นสู้อำจจะมีศพต่อไป
ฉันในฐำนะที่เป็นลูกหลำนของชุมชนนี้จะต้องลุกขึ้นมำต่อสู้
และเรียกร้องควำมเป็นธรรมให้กับชุมชน แม้จะต้องต่อสู้กับควำมกลัว
จำกอิทธิพลต่ำงๆ เพรำะถ้ำฉันไม่ลุกขึ้นมำสู้ ชำวบ้ำนก็จะยิ่งถูกรังแก”
คะติมะ หลีจ๊ะ
ผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนเพื่อสิทธิที่ดิน ที่อยู่อาศัยและที่ท�ากิน
“คะติมะ” เกิดในครอบครัวชาติพันธุ์ลีซู ในชุมชนสันป่าเหียง อ.เชียงดาว
จ.เชียงใหม่ ในชุมชนแห่งนี้ มีทั้งคนเมืองและชาวลีซู ที่ส่วนใหญ่ไม่มีสัญชาติไทย
และบัตรประชาชน อาศัยอยู่ร่วมกันโดยคนเมือง ประกอบอาชีพ เลี้ยงสัตว์ เช่น
วัว ควาย ขณะที่ ชาวลีซู ท�าเกษตรกรรม ปลูกข้าว ข้าวโพด และผักชนิดต่างๆ
ซึ่งการอยู่ร่วมกันระหว่างคน 2 ชาติพันธุ์ ไม่สงบสุขนัก มีความขัดแย้งเกิดขึ้นอยู่
บ่อยครั้ง โดยสาเหตุมาจาก “อคติทางชาติพันธ์”
“กำรไม่มีบัตรประชำชนไทยเหมือนเป็นใบอนุญำตให้ใครต่อใครมำรังแก
พวกเรำได้ง่ำยขึ้น” คะติมะ ผู้หญิงนักปกป้องสิทธิที่ดินที่อยู่อาศัยและที่ท�ากิน
เล่าในสิ่งที่เธอได้ประสบเผชิญ
หลายครั้ง คนเมืองจะปล่อย วัว และควาย เข้ามากินพืชผลทางการเกษตร
ของชาวลีซู และผู้เสียหายเมื่อน�าเรื่องไปบอกกับเจ้าของวัวควายเหล่านั้น กลับ
ถูกไล่ให้ไปฟ้องเรียกค่าเสียหายกับเจ้าหน้าที่ต�ารวจ พร้อมข่มขู่ ว่าจะถูกจับเพราะ
ไม่มีบัตรประชาชน ซึ่งความไม่รู้กฎหมายท�าให้ชาวลีซู ไม่กล้าไปด�าเนินคดีกับเจ้าของ
วัว ควาย ที่ร้ายแรงที่สุด คือ การถูกโยนบาปว่าเป็นผู้บุกรุกพื้นที่ของรัฐ เนื่องจาก
ชุมชนสันป่าเหียงตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ และเขตอุทยานแห่งชาติดาวแม้ว่า
พวกเขาเหล่านี้จะอาศัยผืนดินแห่งนี้มาอย่างยาวนานก็ตาม
17