Page 25 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 25
เกิดขึ้นคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20-40 ของถ่านหินที่น�ามาใช้ทั้งหมด โดยเถ้าถ่านหิน
มีโลหะหนักที่มีพิษหลายชนิดทั้ง ปรอท แคดเมียม ก�ามะถัน ยูเรเนียม อีกทั้งยังต้อง
สูบน�้าทะเลไปใช้ในการหล่อเย็นและทิ้งน�้าที่เต็มไปด้วยสารคลอรีน และอุณหภูมิ
ที่สูง วันละกว่า 1 แสนลูกบาศก์เมตร
อีกส่วนหนึ่งคือ ท่าเทียบเรือบ้านคลองรั้ว ตั้งอยู่ที่ ต.ตลิ่งชัน อ.เหนือคลอง
จ.กระบี่ ขนาด 30 × 220 เมตร ยื่นจากชายฝั่งลงไปในทะเล 350 เมตร โดย
โรงงานนี้จะใช้การขนถ่ายถ่านหินด้วยเรือผ่านเกาะพีพี อ.ลันตา สถานที่ท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงโด่งดังติดอันดับโลก
ที่ส�าคัญพื้นที่นี้เป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ที่ประกาศโดยกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ชุ่มน�้าล�าดับที่ 1100 ที่มี
ความส�าคัญในระดับนานาชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน มีแหล่งหญ้า
ทะเล เป็นที่พักพิงของทั้งคนและสัตว์อนุรักษ์หลายสายพันธุ์ ทั้ง เต่า พะยูน ปลา
โลมา ไม่นับสัตว์ทะเลอีกจ�านวนมาก
ปัจจัยเหล่านี้ท�าให้การรวมตัวกันในปี พ.ศ. 2555 คัดค้านโรงไฟฟ้า
ถ่านหินกระบี่ ประกอบไปด้วยหลากหลายส่วน นอกเหนือไปจากภาคประชาสังคม
จนกลายเป็น “เครือข่ำยปกป้องกระบี่จำกถ่ำนหิน” และขยายเป็น “เครือข่ำยปกป้อง
อันดำมันจำกถ่ำนหิน” มีสมาชิกจ�านวนมาก
โดยการต่อสู้เคลื่อนไหวของเครือข่ายฯ “ผู้หญิง” มีบทบาทในการต่อสู้
อย่างมาก นั่นเป็นเพราะ “บทเรียน” ในอดีตที่พวกเธอเคยได้รับก่อนหน้านี้
“ผู้หญิง แม่บ้ำนที่อยู่ในพื้นที่สร้ำงโรงไฟฟ้ำ เคยมีประสบกำรณ์ตรงจำก
โรงไฟฟ้ำลิกไนต์ ขนำด 60 เมกกะวัตต์มำแล้ว จึงตระหนักดีว่ำขนำดของโรงไฟฟ้ำ
ใหม่ที่จะเพิ่มขึ้นถึง 15 เท่ำ ชุมชนจะได้รับผลกระทบจำกเรื่องนี้อย่ำงไรบ้ำง”
“จินดารัตน์ เพิ่มลาภวิรุฬ์” ผู้ประสานงานเครือข่ายปกป้องอันดามันจากถ่านหินระบุ
“ส่วนของพี่น้องในพื้นที่ที่อยู่ในชุมชนประมง ท�ำประมง จะออกมำ
เคลื่อนไหว เพรำะผู้หญิงเหล่ำนี้เขำรู้ว่ำกำรท�ำประมงเป็นปำกเป็นท้อง มีทะเลเป็น
หม้อข้ำวหม้อแกง เขำรู้ว่ำแต่ละวันต้องหำกินกับทะเล ถ้ำทะเลเสื่อมโทรม ก็ถือว่ำ
หม้อข้ำวหม้อแกงถูกท�ำลำย”
24