Page 139 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 139
115
ส าหรับหลักห๎ามการให๎ร๎าย (Vilification) นั้น มลรัฐ Victoria มีการตราพระราชบัญญัติเฉพาะ
เรียกวํา พระราชบัญญัติการยอมรับในเชื้อชาติและศาสนา (Racial and Religious Tolerance Act,
2001) วางหลักห๎ามการกระท าอันเป็นการกระตุ๎นหรือยั่วยุให๎เกิดความเกลียดชังด๎วยเหตุเชื้อชาติและ
ศาสนา
ส าหรับมิติของการเลือกปฏิบัตินั้น การเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุตํางๆดังกลําวข๎างต๎น ครอบคลุมกรณี
การจ๎างแรงงาน อุตสาหกรรม การศึกษาสินค๎าและบริการ ที่อยูํอาศัย คลับ การกีฬา
8) มลรัฐ Western Australia
กฎหมายที่เกี่ยวข๎องคือ พระราชบัญญัติความเทําเทียมกันในโอกาส (Equal Opportunity Act
1984) ซึ่งวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง เพศ รสนิยมทางเพศ สถานะภาพสมรส การตั้งครรภ์ การ
ให๎นมบุตรจากอกแมํ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ ประวัติทางเพศ (Gender History) รวมทั้งการเผยแพรํ
รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องดังกลําวข๎างต๎นในเว็บไซต์ทางทะเบียนของหนํวยงานรัฐ
ส าหรับมิติของการเลือกปฏิบัตินั้น การเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุตํางๆดังกลําวข๎างต๎น ครอบคลุมกรณี
การจ๎างแรงงาน รวมทั้งผู๎สมัครงาน (Applicants) การศึกษา การโฆษณา สินค๎าและบริการ การใช๎บริการ
ด๎านการขนสํง ที่อยูํอาศัย
3.3.5 กฎหมายสิงค์โปร์
1) รัฐธรรมนูญสิงค์โปร์ หลักการเกี่ยวกับความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือกปฏิบัติปรากฏใน
รัฐธรรมนูญสิงค์โปร์ มาตรา 12 วําด๎วย “การคุ๎มครองความเทําเทียมกัน” (Equal Protection) มีหลักดังนี้
(1) บุคคลทุกคนเทําเทียมกันภายใต๎กฎหมายและมีสิทธิได๎รับการคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียม
กัน
(2) เว๎นแตํรัฐธรรมนูญจะบัญญัติไว๎เป็นอยํางอื่น ห๎ามมิให๎มีการเลือกปฏิบัติตํอพลเมืองด๎วยเหตุแหํง
ศาสนา เชื้อชาติ สายโลหิต หรือ ถิ่นก าเนิด โดยกฎหมายใดๆ หรือ ในการแตํงตั้งเจ๎าหน๎าที่ของรัฐ หรือการ
จ๎างงานเจ๎าพนักงาน หรือ ในการบริหารกฎหมายใดๆที่เกี่ยวข๎องกับการได๎มา การถือครองทรัพย์สิน หรือ
การจัดตั้ง หรือด าเนินการค๎า ธุรกิจ วิชาชีพ หรือการจ๎างแรงงาน
(3) อยํางไรก็ตาม หลักการดังกลําวข๎างต๎นไมํใช๎กับบทบัญญัติหรือการปฏิบัติใดๆที่จ ากัดการจ๎าง
งานซึ่งเกี่ยวข๎องกับศาสนาหรือสถาบันซึ่งบริหารจัดการโดยกลุํมองค์กรวิชาชีพศาสนา
24
ศาลสูงสุดได๎ตีความมาตรา 12 ในคดี Public Prosecutor v. Taw Cheng Kong โดยวางเกณฑ์
ส าหรับพิจารณาวํากฎหมายหรือมาตรการที่พิพาทนั้น เป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญมาตรา 12
หรือไมํ เกณฑ์ดังกลําวมีสองขั้น (Stages) ดังนี้
24 Public Prosecutor v. Taw Cheng Kong [1998] 2 S.L.R.(R.) 489