Page 27 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 27

๕.๕ ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศและองค์กรภาคประชาสังคมระหว่างประเทศ ประกอบ
           ด้วย ๕.๕.๑ การพบหารือกับผู้แทนส�านักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) ๕.๕.๒ การ
           พบหารือกับผู้เสนอรายงานพิเศษของสหประชาชาติ (UN Special Rapporteur) ๕.๕.๓ การเชิญสมาชิกคณะท�างานของ
           สหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนเข้าร่วมงานสัมมนาวิชาการ ๕.๕.๔ การพบหารือกับอดีตกรรมการสิทธิมนุษยชน

           แห่งชาติของประเทศเยอรมนี และคณะผู้แทนจากมูลนิธิฟรีดริช เนามัน ๕.๕.๕ การเดินทางไปเข้าร่วมการประชุมระหว่าง
           เครือข่ายของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับกลไกสิทธิมนุษยชนของยุโรป และ ๕.๕.๖
           ความร่วมมือระหว่าง กสม. กับสมาคมป้องกันการทรมาน (Association for the Prevention of Torture : APT)



           ๖. ผลการด�าเนินงานการพัฒนาบุคลากรด้านสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยผลการด�าเนินงาน ดังนี้


                   ๖.๑ การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรและการประชุมที่จัดโดยหน่วยงานระหว่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ.
           ๒๕๖๐ กสม. ได้จัดส่งเจ้าหน้าที่ของส�านักงาน กสม. ไปเข้ารับการอบรมในหลักสูตรและการประชุมเชิงปฏิบัติการซึ่งจัด

           โดยหน่วยงานระหว่างประเทศ จ�านวน ๙ ครั้ง


                   ๖.๒ การฝึกอบรมและการสัมมนาโดยส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ปีงบประมาณ
           พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�านักงาน กสม. ได้ด�าเนินการจัดการฝึกอบรมตลอดจนจัดการสัมมนาเพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนางานด้าน

           สิทธิมนุษยชน ทั้งด�าเนินการเองรวมถึงการจัดส่งบุคลากรไปอบรมกับหน่วยงานภายนอก ดังนี้ ๖.๒.๑ การฝึกอบรม จัด
           โดยส�านักงาน จ�านวน ๕ หลักสูตร และ จัดส่งบุคลากรไปอบรมกับหน่วยงานภายนอก เพื่ออบรม/สัมมนาร่วมกับหน่วย
           งานภายนอก จ�านวน ๒๗ โครงการ/หลักสูตร และ ๖.๒.๒ การสัมมนา ประกอบด้วย (๑) โครงการสัมมนาวิชาการเพื่อการ
           พัฒนาองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนในมิติต่าง ๆ จัดการสัมมนา จ�านวน ๑๐ ครั้ง (๒) โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อ

           การพัฒนาองค์กร และ (๓) โครงการบริหารจัดการความรู้ในองค์กร (Knowledge Management)




           ๗. ผลการด�าเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ด้านสิทธิมนุษยชน



              ประกอบด้วยผลการด�าเนินงาน ดังนี้ ๗.๑ การพัฒนาระบบ/กลไก/บุคลากร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
           เพื่อสนับสนุนการด�าเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๗.๒ การจัดตั้งหอ
           จดหมายเหตุสิทธิมนุษยชน ๗.๓ ศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน และ ๗.๔ การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

           ของส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


              ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�า
           ปี งบรายจ่ายอื่น จ�านวน ๒๑๖,๔๕๕,๙๐๐.๐๐ บาท (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จ�านวน ๒๑๔,๒๑๙,๓๐๐.๐๐ บาท)

           โดยจ�าแนกเป็นค่าใช้จ่ายบุคลากร จ�านวน ๑๒๕,๕๗๘,๒๐๐.๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายด�าเนินงาน จ�านวน ๘๙,๙๘๘,๖๐๐.๐๐
           บาท และครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง จ�านวน ๘๘๙,๑๐๐.๐๐ บาท เพื่อใช้จ่ายในแผนงานพื้นฐานด้านการปรับสมดุล
           และพัฒนาระบบบริหารภาครัฐ ส�าหรับผลผลิตที่ ๑ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน และ ผลผลิตที่ ๒ การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
           แผนงานบุคลการภาครัฐ แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนงานบูรณาการการ

           จัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ และแผนงานบูรณาการการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา







            26  |  รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32