Page 26 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 26

บทสรุปผู้บริหาร




            ศึกษาวิจัยและเผยแพร่ไปยังหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสถาบันการศึกษา จ�านวน ๕ เรื่อง (๒) ใช้
            เป็นข้อมูลในการสนับสนุนการจัดท�ารายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ�าปีขององค์กร จ�านวน ๔ เรื่อง (๓) ใช้
            สนับสนุนการจัดท�ารายงานผลการตรวจสอบเรื่องร้องเรียน รายงานผลการพิจารณา การจัดท�าข้อเสนอแนะนโยบาย/ข้อเสนอ
            ในการปรับปรุงกฎหมาย จ�านวน ๔ เรื่อง และ (๔) ใช้เป็นข้อมูลเพื่อสนับสนุนให้ภาคธุรกิจเคารพสิทธิมนุษยชน อาทิ การจัด

            ท�าสื่อเพื่อสื่อสารแนวคิดธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน การรณรงค์ให้ภาคธุรกิจด�าเนินการตามหลักการ UNGPs จ�านวน ๔ เรื่อง


                     ๔.๓ การจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และ รายงานผลการปฏิบัติงาน
            ประจ�าปี ด�าเนินการจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�านวน

            ๒ ฉบับ คือ รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘ และ รายงานผลการประเมินสถานการณ์
            ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙ นอกจากนี้ ยังได้จัดท�ารายงานเพื่อแสดงผลส�าเร็จในการด�าเนินงานของ
            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๒ ฉบับ คือ รายงานผลการปฏิบัติงาน
            ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๙ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



            ๕. ผลการด�าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ประกอบด้วยผลการด�าเนินงาน ดังนี้


                     ๕.๑ ความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในระดับต่าง ๆ ประกอบด้วย ๕.๑.๑ ความร่วมมือใน

            ระดับสากลภายใต้กรอบพันธมิตรระดับโลกว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (GANHRI) ๕.๑.๒ ความร่วมมือในระดับ
            ภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิกภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก (APF)
            และ ๕.๑.๓ ความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEANF)



                     ๕.๒ ความร่วมมือกับกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียนและหน่วยงานของสหประชาชาติ ประกอบด้วย
            ๕.๒.๑ การประชุมจัดโดย AICHR คือ (๑) การประชุมเรื่องการส่งเสริมความรับผิดชอบทางสังคมของภาคธุรกิจ (Corpo-
            rate Social Responsibility : CSR) และสิทธิมนุษยชนในอาเซียน ระหว่างวันที่ ๓ – ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ณ โรงแรม
            Mandarin Orchard ประเทศสิงคโปร์ (๒) การประชุมสัมมนาของ AICHR ว่าด้วยการแลกเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติที่ดี

            เกี่ยวกับกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (AICHR Judicial Colloquium on the Sharing of Good Practices
            regarding International Human Rights Law) วันที่ ๑๓ - ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
            (๓) การประชุมระดับภูมิภาคของ AICHR เกี่ยวกับสิทธิของคนพิการในประชาคมอาเซียน ครั้งที่ ๓ (3  AICHR Regional
                                                                                              rd
            Dialogue on the Mainstreaming of the Rights of People with Disabilities in the ASEAN Community)

            ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ ที่จังหวัดภูเก็ต และ ๕.๒.๒ การประชุม UN Forum on Business and Human
            Rights ประจ�าปี ๒๕๕๙ ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ณ นครเจนีวา


                     ๕.๓ การจัดท�ารายงานการปฏิบัติตามสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วย ๕.๓.๑ รายงานคู่

            ขนานการปฏิบัติตามกติกา ICCPR และ ๕.๓.๒ รายงานคู่ขนานการปฏิบัติตามอนุสัญญา CEDAW


                     ๕.๔ ความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของต่างประเทศ ประกอบด้วย ๕.๔.๑ สถาบันสิทธิ
            มนุษยชนแห่งชาติของสาธารณรัฐเกาหลี ๕.๔.๒ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของกาตาร์ ๕.๔.๓ สถาบันสิทธิมนุษยชน

            แห่งชาติของเดนมาร์ก ๕.๔.๔ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของบังกลาเทศ และ ๕.๔.๕ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
            ของเครือรัฐออสเตรเลีย





                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 25
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31