Page 19 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 19

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ







                      ขอบเขตและความหมายของการเลือกปฏิบัติ อาจพิจารณาได้หลายมิติและในหลายบริบทกฎหมาย จึง
          เสนอให้มีการต่อยอดการวิจัยในบริบทของกฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชน ในประเด็นขอบเขตความหมายของ

          การเลือกปฏิบัติ  เพื่อเปรียบเทียบและจ�าแนกความแตกต่างกับความหมายและขอบเขตในบริบทสิทธิมนุษยชนเพื่อให้เกิด
          แนวทางที่ชัดเจนในการพิจารณากฎหมายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องต่อไป



                      เนื่องจากการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษาภาพรวมของปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับหลักความ
          เท่าเทียมกันหรือหลักความเสมอภาคและการห้ามเลือกปฏิบัติในประเทศไทย โดยมิได้มุ่งศึกษาเฉพาะกรณีปัญหากรณี

          ใดกรณีหนึ่ง ดังนั้น ในส่วนที่สองของงานวิจัยนี้จึงเป็นเพียงการหยิบยกประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการส�ารวจ
          ศึกษา และการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ จัดกลุ่มสนทนา รับฟังความคิดเห็น มาท�าการวิเคราะห์ภายใต้กรอบแนวคิด
          กฎหมายสิทธิมนุษยชน เพื่อสะท้อนให้เห็นปัญหาในภาพรวมว่าภายใต้กฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้น การคุ้มครองความ

          เท่าเทียมกันและการห้ามเลือกปฏิบัติเพียงพอและครอบคลุมแล้วหรือไม่ เพียงใด ซึ่งผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่ายังมีหลาย
          กรณีที่กฎหมายปัจจุบันไม่ครอบคลุมถึง จึงน�าไปสู่ข้อเสนอแนะในการมีกฎหมายกลางดังกล่าว ดังนั้น ในส่วนของการ

          ต่อยอดการวิจัย จึงเสนอให้มีการศึกษาประเด็นเฉพาะกรณีศึกษาเป็นรายกรณีในเชิงลึกต่อไป









                                                 Executive

                                                 Summary







                  Equality Principle was recognized by international human rights instruments and foreign

          laws. However, “Discrimination” which comprises of two important factors i.e. “Ground of Discri-
          mination” such as gender, race, religious etc. and “Area of Discrimination” such as employment,
          education, good and service etc., could be regarded as an obstacle to achieve equality. However,

          the main problem of this research was to study whether the existing laws of Thailand has
          sufficiently covered practices relating to discrimination. This research used qualitative method and

          conducted comparative analysis with international human rights laws, foreign laws including laws of
          the EU, South Africa, Sweden, Finland, Canada, Australia, Singapore, Malaysia, India and the U.S. The
          results indicated that the legal meaning and scope of “Discrimination” varied depending on different

          dimensions and contexts. The main results of this research could be summarized as follows;










                                                          18
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24