Page 353 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 353

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

 แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


 กลยุทธ์ที่ 10: การจัดท าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน เพื่อน าไปสู่การถอดบทเรียนว่าประเด็นร่วม (Common   4.43   4.65   4.39   4.67   4.50
 Issue) ของธุรกิจแต่ละสาขา และจัดท าข้อเสนอแนะกับภาคเอกชนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี
 กลยุทธ์ที่ 11: การเฝ้าระวังปัญหาเฉพาะเรื่องจากภาคเอกชน (เช่น เกษตรพันธสัญญา การค้ามนุษย์ แย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลาย  4.62   4.12   4.36   4.53   4.48
 สิ่งแวดล้อม การลงทุนของธุรกิจไทยในต่างประเทศที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน)
 กลยุทธ์ที่ 12: การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ยนอกศาลในกระบวนการแก้ไขข้อพิพาท เพื่อให้ผู้เสียหายได้เข้าถึงความเป็นธรรมอย่างรวดเร็ว   4.29   3.82   4.30   4.07   4.18
 ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่จะไปฟ้องร้องในกระบวนการยุติธรรม
 กลยุทธ์ที่ 13: การร่วมมือกับองค์กร หรือสถาบันตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับในสังคมเพื่อสนับสนุนกลไกเกี่ยวกับปัญหาการประกอบธุรกิจ  4.10   3.94   4.12   3.87   4.04
 และสิทธิมนุษยชน รวมถึงการให้แรงจูงใจที่เหมาะสม
 กลยุทธ์ที่ 14: การสร้างความตระหนักรู้แก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิด และสาธารณชนทั่วไป   4.91   4.59   4.49   4.60   4.73
 กลยุทธ์ที่ 15: การถอดบทเรียนและจัดท ากรณีศึกษาเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อเท็จจริง   4.67   4.53   4.42   4.60   4.59

 กลยุทธ์ที่ 16: การสนับสนุนกลไกการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (เช่น การให้ค าปรึกษากับผู้ร้องทุกข์เพื่อให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม กลไก  4.81   4.53   4.39   4.33   4.61
 การเยียวยา รวมทั้งการปรับปรุงกลไกการปกป้องผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน)
 กลยุทธ์ที่ 17: การขยายช่องทางการติดต่อเพื่อให้เกิดการเข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากขึ้น   4.81   4.71   4.46   4.33   4.65
 กลยุทธ์ที่ 18: การพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาด้วยความเป็นกลาง มุ่งเสนอจุดยืนบน  4.41   4.47   4.35   4.35   4.40
 พื้นฐานของสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด ซึ่งแบ่งได้ดังนี้
 ก. กสม. ควรปลูกฝังให้ความรู้กับผู้น าชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน และการร่วมเสริมสร้างศักยภาพกระบวนการ
 ตรวจสอบการละเมิดสิทธิให้กับภาคีเครือข่าย
    ข. กสม. ควรพัฒนาเครื่องมือในการสื่อสารความรู้และร่วมมือกับสื่อในการให้ความรู้ทางด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง
 สนับสนุนบทบาทของสื่อในการตรวจสอบเชิงลึก
 ค. กสม. ควรสนับสนุนในด้านฐานข้อมูลร่วมกับภาควิชาการเพื่อน าไปสู่การท าวิจัยและพัฒนา (เช่น การแปลคู่มือมาตรฐานต่างๆ การ
 วิเคราะห์วิจัยเชิงลึก)
 ง. กสม. ควรร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ มาตรฐานสากล บทเรียน แนวทางการปฏิบัติที่ดี รวมไปถึงการท าวิจัยและพัฒนาในประเด็นที่
 เกี่ยวข้องกับหน่วยงานต่างประเทศ
 กลยุทธ์ที่ 19: การผลักดันแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้น าไปใช้เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ โดย   4.38   4.35   4.46   4.73   4.45
 กสม. ควรที่จะปรับสมดุลภาพลักษณ์ขององค์กรให้ท างานในเชิงส่งเสริมมากขึ้น
 กลยุทธ์ที่ 20: การท าความเข้าใจภายในองค์กรเพื่อให้เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับนิยาม ขอบเขตอ านาจของ กสม. เพื่อใช้ก าหนดแนวทางการ  NA



 ผ - 21
   348   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358