Page 351 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 351

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

 แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


 ภาคผนวกที่ 4
                                                            4
 ตารางแสดงผลการจัดล าดับความส าคัญของแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2560-2562


 การจัดล าดับความส าคัญของแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) พ.ศ.2560-2562

 แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) พ.ศ.2560-2562   ระดับความส าคัญของแผนจากการตอบแบบสอบถาม (ระดับคะแนนตั้งแต่ 1-5)
                     กสม.      ภาครัฐ    ภาคเอกชน   ภาคประชาสังคม   ค่าเฉลี่ย
 กลยุทธ์ที่ 1: การให้ค าปรึกษาในการจัดท าแผน NAPs   4.43   4.18   4.09   4.40   4.33

 กลยุทธ์ที่ 2: การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย   4.81   4.24   4.36   4.60   4.60
 กลยุทธ์ที่ 3: การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่องจากภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (เช่น โครงการขนาดใหญ่ การแย่งชิงฐาน  4.57   4.18   4.24   4.40   4.42
 ทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม) การตรวจสอบผลการด าเนินงานของภาครัฐ (เช่น ภาครัฐมีกลไกการคุ้มครองและเยียวยาในทางปฏิบัติ
 เป็นอย่างไร) และตรวจสอบกลไกการตรวจสอบของภาครัฐ (เช่น หน่วยงานควบคุมรัฐวิสาหกิจว่ามีการด าเนินงานอย่างไร)
 กลยุทธ์ที่ 4: การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ (เช่น การให้ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาล  4.43   4.41   4.30   4.33   4.39
 และภาครัฐอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)
 กลยุทธ์ที่ 5: การสนับสนุนการเชื่อมโยงแผนต่างๆ ของประเทศให้มีประเด็นสิทธิมนุษยชนให้เด่นชัดมากขึ้น   4.43   4.14   4.24   4.67   4.39
 กลยุทธ์ที่ 6: การให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาค  4.52   4.24   4.46   4.40   4.44
 ธุรกิจ (เช่น การให้มีกฎหมาย Anti SLAPP การให้มีการคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนหรือผู้ให้ข้อมูล (whistle blower) และการ
 สนับสนุนให้ท า RIA)
 กลยุทธ์ที่ 7: การสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้ด้านสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ (CSR เป็นจุดเริ่มที่ดีแต่ยังไม่เพียงพอ) รวมไป  4.71   4.41   4.49   4.47   4.58
 ถึงความส าคัญของการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตที่เคารพสิทธิมนุษยชน
 กลยุทธ์ที่ 8: การผลักดันการเผยแพร่คู่มือ HRDD ในภาคปฏิบัติ   4.57   4.41   4.33   4.60   4.51
 กลยุทธ์ที่ 9: การให้ค าแนะน าทางเทคนิคว่าด้วยการจัดท ารายงานประจ าปี รวมทั้งส่งเสริมให้บริษัทจัดตั้งกลไกในการขับเคลื่อนภายใน  4.19   4.00   4.24   4.27   4.18
 องค์กรเพื่อด าเนินงานตามนโยบายของบริษัท เช่น การจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนมาตรฐานแรงงาน



 4
    ตารางแสดงผลการจัดล าดับความส าคัญของแผนกลยุทธ์ทั้ง 25 กลยุทธ์ดังกล่าว คณะผู้วิจัยได้ประเมินผลมาจากแบบสอบถามประกอบการประชุมระดมความคิดทั้ง 4 กลุ่ม โดยการประเมินจะให้น้ าหนักของผลจากจัด
 ประชุมกับกลุ่ม กสม.เท่ากับร้อยละ 50 ในขณะที่กลุ่มอื่นๆ จะให้น้ าหนักที่เท่ากันเท่ากับร้อยละ 16.67


 ผ - 20
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356