Page 168 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 168

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                      เป้าหมาย                     เป้าหมายย่อย                       วิธีดําเนินการ
               เป้าหมายที่ 1:        1.1  ภายในปี พ.ศ. 2573  ขจัดความยากจนขั้นรุนแรง 1.a  สร้างหลักประกันว่าจะมีการระดมทรัพยากร
               ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ  ทั้งหมด ซึ่งในปัจจุบันวัดจากคนที่มีค่าใช้จ่ายดํารง  อย่างมีนัยสําคัญจากแหล่งที่หลากหลาย
               ทุกที่                     ชีพรายวันต่ํากว่า $1.25 ต่อวัน       รวมไปถึงการยกระดับความร่วมมือเพื่อ
                                     1.2  ภายในปี พ.ศ. 2573 ลดสัดส่วนชาย หญิง และเด็ก   การพัฒนา เพื่อที่จะจัดให้มีแนวทางที่
                                          ในทุกช่วงวัยที่อยู่ภายใต้ความยากจนในทุกมิติ ตาม  เพียงพอและคาดเดาได้แก่ประเทศกําลัง
                                         นิยามของแต่ละประเทศ ให้ลดลงอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง   พัฒนา เฉพาะอย่างยิ่งประเทศพัฒนาน้อย
                                     1.3  ดําเนินการให้เป็นผลตามระบบและมาตรการ  ที่สุด ในการดําเนินงานตามแผนงานและ
                                         คุ้มครองทางสังคมที่เหมาะสมของแต่ละประเทศ   นโยบายเพื่อยุติความยากจนในทุกมิติ
                                         และให้ครอบคลุมถึงกลุ่มที่ยากจนและเปราะบาง 1.b  สร้างกรอบนโยบายที่เหมาะสมในระดับ
                                          ภายในปี พ.ศ. 2573                    ประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับ
                                     1.4  ภายในปี พ.ศ. 2573  สร้างหลักประกันว่าชายและ  นานาชาติ บนฐานของยุทธศาสตร์การ
                                          หญิงทุกคน โดยเฉพาะที่ยากจนและเปราะบาง มี  พัฒนาที่สนับสนุนคนยากจน (pro-poor)
                                          สิทธิเท่าเทียมกันในทรัพยากรทางเศรษฐกิจ รวมถึง  และคํานึงถึงความละเอียดอ่อนเชิงเพศ
                                          การเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน การเป็นเจ้าของและ  ภาวะ (gender-sensitive)   เพื่อจะ
                                          ควบคุมเหนือที่ดินและอสังหาในรูปแบบอื่น มรดก   สนับสนุนการเร่งการลงทุนเพื่อปฏิบัติการ
                                          ทรัพยากร ธรรมชาติ เทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสม   ขจัดความยากจน
                                          และบริการทางการเงิน ซึ่งรวมถึงระบบการเงิน
                                          ระดับฐานราก (microfinance)
                                     1.5  ภายในปี พ.ศ. 2573 สร้างภูมิต้านทาน และลดการ
                                          เปิดรับและความเปราะบางต่อเหตุรุนแรงที่เกี่ยวข้อง
                                          กับภูมิอากาศ และภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ สังคมและ
                                          สิ่งแวดล้อม ให้กับผู้ที่ยากจนและอยู่ในสถานการณ์
                                          เปราะบาง
               เป้าหมายที่ 2:        2.1  ยุติความหิวโหยและสร้างหลักประกันให้ทุกคนโดย 2.a  เพิ่มการลงทุนตลอดจนการยกระดับความ
               ขจัดความหิวโหย บรรลุเป้า   เฉพาะที่ยากจนและอยู่ในภาวะเปราะบางอันรวมถึง  ร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องโครงสร้าง
               ความมั่นคงทางอาหารและ      ทารก ได้เข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย มีโภชนาการ และ  พื้นฐานในชนบท การวิจัยเกษตรและการ
               โภชนาการที่ดีขึ้น และส่งเสริม  เพียงพอตลอดทั้งปี ภายในปี พ.ศ. 2573   ขยายการบริการ การพัฒนาเทคโนโลยี
               เกษตรกรรมยั่งยืน      2.2  ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบและแก้ไขปัญหา  และการทําธนาคารยีนของพืชและสัตว์
                                          ความต้องการสารอาหารของหญิงวัยรุ่น   หญิง  เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการผลิต
                                         ตั้งครรภ์และให้นมบุตร และผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ.   สินค้าเกษตรในประเทศกําลังพัฒนา
                                         2573 รวมถึงบรรลุเป้าหมายที่ตกลงร่วมกันระหว่าง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อย
                                          ประเทศว่าด้วยภาวะแคระแกร็นและผอมแห้งในเด็ก  ที่สุด
                                         อายุต่ํากว่า 5 ปี ภายในปี พ.ศ. 2568   2.b  แก้ไขและป้องกันการกีดกันและการ
                                     2.3  เพิ่มผลิตภาพทางการเกษตรและรายได้ของผู้ผลิต  บิดเบือนทางการค้าในตลาดเกษตรโลก
                                          อาการรายเล็ก โดยเฉพาะผู้หญิง คนพื้นเมือง เกษตรกร  รวมถึงทางการขจัดการอุดหนุนสินค้า
                                         แบบครอบครัว คนเลี้ยงปศุสัตว์ ชาวประมง ให้  เกษตรเพื่อการส่งออกทุกรูปแบบและ
                                         เพิ่มขึ้นเป็น 2  เท่า โดยรวมถึงการเข้าถึงที่ดินและ  มาตรการเพื่อการส่งออกทุกแบบที่ให้ผล
                                         ทรัพยากรและปัจจัยนําเข้าในการผลิต ความรู้   ในลักษณะเดียวกัน โดยให้เป็นไปตาม
                                         บริการทางการเงิน ตลาด และโอกาสสําหรับการ  อาณัติของรอบการพัฒนาโดฮา
                                         เพิ่มมูลค่าและการจ้างงานนอกฟาร์ม อย่าง 2.c  เลือกใช้มาตรการที่สร้างหลักประกันได้ว่า
                                         ปลอดภัยและเท่าเทียม ภายในปี พ.ศ. 2573   ตลาดโภคภัณฑ์อาหารและตลาดอนุพันธ์



                                                           4-21
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173