Page 49 - โครงการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เรื่อง "การศึกษาและตาบอดสี"
P. 49

๓




                                                                          ความรู้เรื่องตาบอดสี



                                                                                                                            นพ.วีระชัย  จันทร์ดียิ่ง  จักษุแพทย์

                   ค ำถำม
                   ตำบอดสีคืออะไร

                   ตอบ

                   ตำบอดสีเป็นค ำที่เรำใช้กันมำนำนแล้ว   ควำมเป็นจริงผู้ที่ถูกเรียกว่ำมีตำบอดสี ยังสำมำรถมองเห็นภำพ
                   ต่ำงๆได้ชัดเจนเหมือนคนปกติ  แต่สีที่เขำเห็นจะไม่เหมือนคนปกติ   น่ำจะเรียกว่ำมีควำมบกพร่องใน

                   กำรมองเห็นสีมำกกว่ำ  หรือจะเรียกสั้นๆว่ำตำพร่องสี  เขำยังสำมำรถเรียนหนังสือ,ประกอบอำชีพและ

                   ด ำรงชีวิตได้อย่ำงปกติ  ยกเว้นไม่สำมำรถศึกษำต่อหรือประกอบอำชีพบำงอย่ำงที่ต้องใช้ควำมสำมำรถ

                   ในกำรมองเห็นสี,แยกแยะสีให้ถูกต้อง  เช่น แพทย์,พยำบำล, ทันตแพทย์, เภสัชกร,นักเทคนิคกำรแพทย์,
                   ต ำรวจ,ทหำร,นักบิน, วิศวกร, สถำปนิก, ผู้ควบคุมยำนพำหนะขนำดใหญ่ เป็นต้น



                   ค ำถำม

                   สำเหตุของตำบอดสีเกิดจำกอะไร
                   ตอบ   เกิดจำกควำมผิดปกติของเซลรับแสงสีต่ำงๆ

                   จอประสำทตำที่อยู่ภำยในลูกตำด้ำนหลัง  ประกอบด้วยเส้นใยประสำทเล็กๆจ ำนวน ๑ ล้ำนเส้น

                   บริเวณจอประสำทจะมีเซลรับแสง ( Receptor cell ) 2 ชนิดคือ
                      1.  Cone receptor มีลักษณะคล้ำยถ้วยไอศครีมโคน  มี 3 ชนิด

                          1.1 เซลรับแสงสีน ้ำเงิน ( Blue receptor )

                          1.2  เซลรับแสงสีเขียว ( Green receptor )
                          1.3  เซลรับแสงสีแดง ( Red receptor )

                          จอประสำทตำที่มีเซลรับแสงชนิดโคนไม่ครบหรือไม่สมบูรณ์ทั้ง ๓ ชนิด

                          กำรมองเห็นสีจะผิดไป  เห็นสีไม่เหมือนคนปกติ
                      2.  Rod receptor  มีลักษณะคล้ำยแท่ง  ไม่มีบทบำทในกำรมองสี  ใช้มองในที่มืด หรือ ที่มีแสงสลัวๆ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53