Page 42 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2557
P. 42
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำาปี ๒๕๕๗ 41
ข้อ ๕ การลงนามและให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคน
จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ
ข้อ ๖ การให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการ
หายสาบสูญโดยถูกบังคับ
ข้อ ๗ การให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการ
หายสาบสูญโดยถูกบังคับ และสอบสวนข้อกล่าวหาทั้งหมดเกี่ยวกับการหายสาบสูญ
โดยถูกบังคับ
ข้อ ๘ การลงนามและให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองทุกคนจาก
การหายสาบสูญโดยถูกบังคับในทันที
ข้อ ๙ การลงนามและให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคน
จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับโดยเร็ว
๖. การส่งเสริมและคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก
ข้อ ๓๒ การพิจารณาคำาขอเยือนของผู้ถืออาณัติอื่น ๆ ด้วยดี รวมถึงผู้เสนอ
รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้านเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
และการแสดงออก
ข้อ ๓๓ การเชิญผู้เสนอรายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้าน
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออกเยือนประเทศ
ข้อ ๓๔ การเชิญผู้เสนอรายงานพิเศษว่าด้วยเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
เยือนประเทศไทย ซึ่งอาจสามารถส่งเสริมข้อบทของพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทำาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และการบังคับใช้พระราชบัญญัติดังกล่าวให้
สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
ข้อ ๓๕ การประกันให้กฎหมายของไทยสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ
ด้านสิทธิมนุษยชนในส่วนที่เกี่ยวกับเสรีภาพในการแสดงออก
ข้อ ๓๖ การประกันให้ดำาเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดกฎหมายหมิ่นพระบรม
เดชานุภาพ และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นไปอย่างเปิดเผยและโปร่งใส
ข้อ ๓๗ การเพิ่มความพยายามในการประกันให้ทุกคนที่ถูกกล่าวหาว่าละเมิด
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำาผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับคำาปรึกษาด้านกฎหมายกฎหมายที่เพียงพอ
๙. การคุ้มครองผู้โยกย้ายถิ่นฐานและผู้แสวงหาที่พักพิง
ข้อ ๗๔ การดำาเนินมาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการจับกุมคุมขัง