Page 102 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2557
P. 102

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำาปี ๒๕๕๗ 101











                                 ๒.๒) สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน และการดำาเนินงานของ กสม.

                                      ในปี ๒๕๕๗  กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิชุมชนในการเข้าถึงและจัดการ

                       ทรัพยากรธรรมชาติ จำานวน ๘๗ เรื่อง  จากทั้งหมด ๖๘๙ เรื่อง  คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๗๒ ซึ่งสูงเป็น
                       อันดับสองจากเรื่องร้องเรียนทั้งหมด โดยประเด็นการร้องเรียนทั่วไป รวมถึงในปี ๒๕๕๗ เกี่ยวข้องกับ
                                                                                                      ๔๖
                                                                     ๔๔
                                                                                         ๔๕
                                                          ๔๓
                                                         ้
                       ผลกระทบจากการบริหารจัดการทรัพยากรนำา   เหมืองแร่   โครงการพัฒนาต่าง ๆ   อุตสาหกรรม
                                                                              ๔๗
                       ตลอดจนผลกระทบจากการพัฒนาพลังงาน โรงไฟฟ้า และปิโตรเลียม   และอื่น ๆ โดยมีผลกระทบต่อ
                       สิทธิของประชาชนและชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานของรัฐ
                       สิทธิในการมีส่วนร่วมของประชาชน และการแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานของรัฐก่อนการพิจารณา
                       อนุญาตดำาเนินโครงการ ตลอดจนปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ
                       ต่อสุขภาพของชุมชน  นอกจากนี้ เมื่อมีการดำาเนินโครงการเหล่านี้ ในพื้นที่มีทั้งกลุ่มที่ได้รับผลประโยชน์

                       รวมทั้งได้รับการสนับสนุนจากเจ้าของโครงการ  และกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ จนทำาให้เกิด
                       ปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่



                            โดยมีเรื่องร้องเรียนสำาคัญที่เป็นกรณีตัวอย่าง ดังนี้

                            กรณีผลกระทบเกี่ยวกับการขุดเจาะสำารวจทรัพยากรธรรมชาติ

                            เรื่อง การเจาะสำารวจปิโตรเลียมที่จังหวัดกาฬสินธุ์

                            กรณีชุมชนพื้นที่บ้านคำาไผ่–โนนสง่า อำาเภอเมืองกาฬสินธุ์  พื้นที่ตำาบลนาตาล อำาเภอท่าคันโท

                       จังหวัดกาฬสินธุ์  พื้นที่ตำาบลหัวฝาย อำาเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์  และพื้นที่ตำาบลดูนสาด อำาเภอ
                                                                                                   ้
                       กระนวน จังหวัดขอนแก่น  ร้องเรียนว่า พื้นที่เจาะสำารวจปิโตรเลียมในเขตดังกล่าวเป็นแหล่งต้นนำาสำาคัญ
                       ที่ใช้ในภาคการเกษตร อยู่ใกล้แหล่งชุมชนและวัด และการขุดเจาะสำารวจที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อ






                       ๔๓  ได้แก่  กรณีเกี่ยวกับเขื่อนและอ่างเก็บนำา  ฝายขนาดใหญ่  กรณีเกี่ยวกับคลองส่งนำา  กรณีเกี่ยวกับการเปลี่ยนสภาพแหล่งนำา  และ
                                                  ้
                                                                           ้
                                                                                                    ้
                                          ้
                                               ้
                         สร้างสิ่งกีดขวาง หรือล่วงลำาแหล่งนำา และกรณีความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรนำา ้
                       ๔๔  ได้แก่  กรณีปัญหาด้านมลพิษ  และสิ่งแวดล้อมจากการทำาเหมืองแร่  กรณีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนอันเกิดจากการทำา
                                                   ้
                         เหมืองแร่ กรณีปัญหาจากการสูบและต้มนำาเกลือ กรณีปัญหาจากการขุดดินและดูดทราย และกรณีปัญหาเกี่ยวกับการฟื้นฟูสภาพ
                         พื้นที่ภายหลังการทำาเหมืองแร่
                       ๔๕  ได้แก่  กรณีเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือ  และโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่ง  กรณีเกี่ยวกับข้อพิพาทที่ดินชายฝั่งทะเล  และ
                         กรณีความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายและกิจกรรมทางทะเลต่าง ๆ รวมถึงความช่วยเหลือภายหลังธรณีพิบัติภัยสึนามิ
                       ๔๖  ได้แก่ กรณีปัญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม กรณีปัญหาการจัดการขยะหรือกากอุตสาหกรรม และกรณีปัญหาความขัดแย้ง
                         ในการจัดการสิ่งแวดล้อมอันเกี่ยวเนื่องกับโรงงานอุตสาหกรรมอื่น ๆ
                       ๔๗  ได้แก่ กรณีการสำารวจและขุดเจาะปิโตรเลียม กรณีการดำาเนินโครงการโรงไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวล เชื้อเพลิงถ่านหิน พลังงานลม
                                ้
                         พลังงานนำา  และพลังงานแสงอาทิตย์  และกรณีปัญหาสิ่งแวดล้อม  และผลกระทบด้านสุขภาพจากโครงการด้านพลังงานที่ดำาเนิน
                         โครงการแล้ว
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107