Page 8 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 8

รายงานการศึกษาวิจัย     III
                                                                 เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต






                                                    บทสรุปสําหรับผูบริหาร



                      แนวนโยบายและการบริหารแผนพัฒนาในระดับประเทศที่ผานมาและในปจจุบัน สวนใหญยังถูกกําหนด

               มาจากหนวยงานของรัฐและเอกชนในสวนกลาง นับตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๕ รัฐไดกําหนดใหมีการพัฒนาอุตสาหกรรม
               ปโตรเคมีภายใตแผนพัฒนาชายฝงทะเลภาคตะวันออก จนถึงแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีระยะที่สาม
               ในปจจุบัน ซึ่งมีสวนขยายการพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีลงสูพื้นที่ภาคใต ภายใตโครงการแผนพัฒนา

               ชายฝงทะเลภาคใต โดยขณะนี้อยูในระยะเริ่มแรกของโครงการที่เปนการเตรียมความพรอมและกอสรางระบบ

               สาธารณูปโภคและระบบโลจิสติกสเพื่อที่จะรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมในอนาคต โครงการภายใตกรอบคิดการ
               พัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝงทะเลดังกลาวขางตน ไดกอใหเกิดการคุกคามตอสิทธิชุมชนอยางกวางขวาง ทั้งนี้
               จะเห็นไดจากสถิติเรื่องรองเรียนจํานวนมากของคณะอนุกรรมการสิทธิชุมชนในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

               แหงชาติ โดยกรณีรองเรียนสวนใหญจะอยูในพื้นที่เปาหมายของการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาคใต ไดแก จังหวัด

               ประจวบคีรีขันธ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล จึงมีความจําเปนที่จะตองดําเนินการ
               ศึกษาวิจัยผลกระทบตอสิทธิชุมชนที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการภายใตแผนพัฒนาชายฝงทะเลภาคใตดังกลาว
               เพื่อศึกษานโยบายและการบริหารจัดการโครงการพัฒนาภาคใต และผลกระทบตอสิทธิชุมชน รวมทั้งจัดทํา

               ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอการบริหารจัดการโครงการพัฒนาภาคใต เพื่อใหเกิดการคุมครองสิทธิชุมชน

               ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยใชกลุมเปาหมายในการศึกษาวิจัยจากกรณี
               การรองเรียนของชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากแผนพัฒนาภาคใตในพื้นที่ ๔ จังหวัด ตอคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                      วิธีการศึกษาของโครงการเปนการผสมผสานระเบียบวิธีวิจัย ทั้งวิธีการศึกษาจากเอกสาร (Documentary

               Research) และวิธีการเชิงคุณภาพ (Quantitative analysis) ในการประเมินสถานการณการคุกคามสิทธิชุมชน
               และจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอทิศทางการพัฒนาภาคใต โดยรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของกับแผนพัฒนา
               ภาคใตจากหนวยงานในระดับประเทศและระดับจังหวัด การศึกษาขอมูลเบื้องตนจากเอกสารกรณีการรองเรียน

               รายงานการประชุมและรายงานผลการตรวจสอบในกรณีรองเรียนที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ไดมีการจัดการสนทนากลุม

               (Focus group) จังหวัดละ ๑ ครั้ง รวม ๔ ครั้ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินสถานการณสิทธิชุมชนกับผลกระทบ
               จากโครงการพัฒนาภาคใตในแตละจังหวัด หลังจากนั้นจะจัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการของผูรองเรียนในแตละ
               จังหวัด รวม ๔ ครั้ง โดยเปนการรวมกันระดมความคิดเห็น เพื่อจัดทํารางขอเสนอตอแผนพัฒนาภาคใตในแตละ

               จังหวัดแลว จึงจัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการรวมของกรณีศึกษาทั้ง ๔ จังหวัดอีก ๑ ครั้ง เพื่อนําผลการประชุม

               เชิงปฏิบัติการในระดับจังหวัด มารวมกันสังเคราะหขอมูลระดับภาค และจัดทํารางขอเสนอรวมตอโครงการพัฒนา
               ภาคใต
                      การพัฒนาที่ผานมาเปนการกระทําของรัฐที่ใชอํานาจเขามาจัดการทรัพยากรของชุมชน โดยถือวาชุมชน

               ไมมีตัวตนและสิทธิทางกฎหมาย และละเมิดสิทธิของชุมชนที่เคยมีอยูเหนือทรัพยากรของชุมชน ทําใหชุมชน

               ทองถิ่นตาง ๆ ไดลุกขึ้นมาเรียกรองสิทธิของตนเองและสิทธิของชุมชน จนในที่สุดนําไปสูการมีบทบัญญัติ
               ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่ไดมีการยอมรับสิทธิ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13