Page 10 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 10

รายงานการศึกษาวิจัย     V
                                                                 เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




               พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยแผนพัฒนาภาคใตตอนบน ผูศึกษา คือ องคการความรวมมือระหวาง
               ประเทศของญี่ปุน (JICA) และธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ถึงแมวาที่ผานมาจะมีการชะลอและทบทวน
               การดําเนินการแผนพัฒนาภาคใตหลายครั้ง แตก็ยังคงเปาหมายเดิมที่จะพัฒนาภาคใตใหเปนศูนยกลาง

               ดานอุตสาหกรรมปโตรเคมีและพลังงานของภูมิภาค โดยมีเปาหมายจะพัฒนาจังหวัดประจวบคีรีขันธใหเปน

               เมืองศูนยกลางอุตสาหกรรมเหล็กครบวงจรและศูนยกลางพลังงานของประเทศ ดวยโครงการโรงถลุงเหล็กตนนํ้า
               และอุตสาหกรรมตอเนื่อง รวมทั้งโรงไฟฟาถานหิน สวนจังหวัดนครศรีธรรมราชจะพัฒนาใหศูนยกลางอุตสาหกรรม
               ปโตรเคมีและพลังงาน ประกอบดวยนิคมอุตสาหกรรมปโตรเคมีและโรงไฟฟาถานหิน ในขณะที่จังหวัดสงขลาจะ

               เปนเมืองอุตสาหกรรมหนักชายแดนและสะพานเศรษฐกิจพลังงานฝงอาวไทย และจังหวัดสตูลเปนประตูเมือง

               อุตสาหกรรมและสะพานเศรษฐกิจพลังงาน
                      ผลการศึกษาการละเมิดสิทธิของชุมชนตาง ๆ ที่ไดรับผลกระทบจากการดําเนินการโครงการที่เกี่ยวเนื่อง
               กับแผนพัฒนาภาคใต จากพื้นที่กรณีศึกษา ๔ จังหวัด พบวามีการละเมิดและละเลยความสําคัญของสิทธิของชุมชน

               ในดานตาง ๆ ทั้งสิทธิในการกําหนดอนาคตและเจตจํานงของตนเองและสิทธิในการพัฒนา ซึ่งแผนพัฒนาภาคใต

               ถูกกําหนดขึ้นจากรัฐสวนกลางโดยที่ไมมีประชาชน ชุมชนทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบโดยตรงเขาไปมีสวนรวมในการ
               กําหนดและจัดทํา จึงละเลยสิทธิของชาวบานและชุมชนในการกําหนดอนาคตและเจตจํานงของตนเองและ
               สิทธิในการพัฒนา สงผลใหชะตากรรมและชีวิตของทองถิ่นถูกกําหนดมาจากองคกรภายนอก ทั้งจากตางประเทศ

               และในประเทศ สิทธิในมาตรฐานการครองชีพ จากการประกอบอาชีพที่อิงอาศัยกับความอุดมสมบูรณและ

               ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งบทเรียนผลกระทบจากพื้นที่อื่น ๆ ทําใหชาวบานกังวลวา
               โครงการตาง ๆ ภายใตแผนพัฒนาภาคใต จะเขามาทําลายถิ่นอาศัยและแหลงทํามาหากินประกอบอาชีพของตนเอง
               นอกจากนี้ โครงการพัฒนาภาคใตเปนชุดแผนงานโครงการขนาดใหญ ซึ่งไดมีการวางแผนกําหนดไวเรียบรอยแลว

               และเจาของโครงการก็รูดีวามีผลกระทบ แตไมใหประชาชนรับรูขอมูล และไมยอมเปดเผยรายละเอียดการดําเนิน

               โครงการตอสาธารณะ อันสงผลตอสิทธิในขอมูลขาวสารซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานสําคัญที่จะสงผลกระทบตอสิทธิ
               ในดานอื่น ๆ อีกทั้งพื้นที่ดําเนินโครงการมักจะทับซอนกับพื้นที่ฐานทรัพยากรของชุมชน การเขามาของโครงการ
               จึงสงผลกระทบตอสิทธิชุมชนในการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการจัดกระบวนการรับฟง

               ความคิดเห็นที่ผานมาก็ละเลยสิทธิของชุมชนในการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น

                      กระบวนการตรวจสอบเรื่องรองเรียนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ทั้งการลงพื้นที่ตรวจสอบ
               ขอเท็จจริง การประชุมหรือการจัดเวทีรับฟงความคิดเห็นจากชุมชน ตลอดจนการเชิญหนวยงานที่เกี่ยวของเขารวม
               ประชุมตรวจสอบเรื่องรองเรียน ทําใหชุมชนไดเรียนรู เขาใจและตระหนักถึงสิทธิชุมชนและสิทธิมนุษยชนของ

               ตนเองมากขึ้น และสงผลใหชุมชนมีการใชสิทธิของชุมชนภายใตรัฐธรรมนูญมากขึ้น ตั้งแตการปกปองสิทธิของตนเอง

               การเรียกรองใหหนวยงานรัฐดําเนินการกับผูที่มาละเมิดสิทธิของชุมชน ตลอดจนถึงการฟองรองหนวยงานรัฐ
               ในบางกรณี เชน กรณีรองเรียนของประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากการทําเหมืองหินเขาคูหา และกรณีรองเรียน
               การวางทอกาซไทย-มาเลเซีย รวมถึงการใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนกลไกหนุนเสริมกระบวนการ

               ประสานความรวมมือกับหนวยงานรัฐ เชน การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดประจวบคีรีขันธที่มีสวนรวมของ

               ภาคประชาชน โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนผูประสานหนวยงานรัฐ ทั้งระดับจังหวัดและสวนกลาง
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15