Page 43 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 43

๒๔      รายงานการศึกษาวิจัย
                เรื่อง  สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




              ซึ่งถือไดวาเปนการเริ่มตนอุตสาหกรรมหนักครั้งแรกลงบนแผนดินภาคใตของประเทศไทย โดยในป
              พ.ศ. ๒๕๔๐ การปโตรเลียมแหงประเทศไทย ไดลงนามในสัญญากับบริษัทนํ้ามันแหงชาติของมาเลเซีย (เปโตรนาส)
              เพื่อรวมกันศึกษาความเปนไปไดในการรวมทุนในโครงการทอสงกาซและโรงแยกกาซไทย–มาเลเซีย ตอมา ในป

              พ.ศ. ๒๕๔๑ รัฐบาลของไทยและมาเลเซีย ก็ไดเห็นชอบรวมกันในการซื้อขายกาซธรรมชาติภายใตพื้นที่พัฒนา

              รวมไทยมาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Development Area : JDA) รวมทั้งเห็นชอบในหลักการรวมกันของ
              โครงการทอสงกาซ และโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย จนกระทั่งในป พ.ศ. ๒๕๔๒ ก็ไดมีการจัดทําแผนแมบทและแผน
              ปฏิบัติการการพัฒนาเขตเศรษฐกิจปนัง-สงขลา เพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่จะเกิดขึ้นจากใชประโยชนจาก

              กาซธรรมชาติในอนาคต

                             ๒) แผนพัฒนาโครงการสะพานเศรษฐกิจปนัง–สงขลา
                               โครงการสะพานเศรษฐกิจปนัง–สงขลา เกิดขึ้นจากผลักดันของภาคธุรกิจเอกชนมาเลเซีย
              ในการประชุมไตรภาคีระดับรัฐมนตรีและเจาหนาที่อาวุโส ตามแผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย ครั้งที่ ๕

              ที่จังหวัดนราธิวาส ในระหวางวันที่ ๑๙–๒๒ ธันวาคม ๒๕๓๘ โครงการจะเนนการพัฒนาเชื่อมตอโครงสรางพื้นฐาน

              ดานการขนสงพลังงานและการคมนาคมระหวางมาเลเซียและไทย ดวยการสรางทอขนสงนํ้ามันและกาซธรรมชาติ
              เชื่อมตอระหวาง ปนัง–สงขลา สรางถนนมอเตอรเวยเชื่อมตอทาเรือสงขลาถึงทาเรือปนัง รวมทั้งเสนทางรถไฟรางคู
              สงขลา-ปนัง ตลอดจนการพัฒนาโครงขายพลังงานไฟฟา การพัฒนาอุตสาหกรรม ดานศุลกากร เปนตน

                               จนกระทั่งในป พ.ศ. ๒๕๔๑ ก็ไดมีการจัดตั้งโครงการนํารองที่เปนธุรกิจรวมทุนระหวางเอกชน

              ของมาเลเซียกับญี่ปุน โดยขอสนับสนุนดานการเงินจากกองทุนความรวมมือทางเศรษฐกิจโพนทะเลแหงประเทศ
              ญี่ปุน หรือ OECF (Overseas Economic Cooperation Fund) และมีบริษัท เปโตรนาส ซึ่งเปนบริษัทนํ้ามันแหง
              ชาติของมาเลเซียใหการสนับสนุนดานเทคโนโลยี ที่จะพัฒนาโครงการตาง ๆ ภายใตสะพานเศรษฐกิจนี้

                               ตอมา ในป พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดมีการปรับเปลี่ยนและขยายแนวเขตการพัฒนาเศรษฐกิจเปน

              สงขลา–ปนัง–เบลาวัน และไดมีการขยายแนวเขตเพิ่มเติมอีกในป พ.ศ. ๒๕๔๕ เปน เขตเศรษฐกิจตอเนื่องสงขลา–
              ปนัง–เมดาน (Seamless Songkhla–Penang–Medan Economic Corridor) หรือสะพานเศรษฐกิจสงขลา–
              ปนัง–เมดาน ซึ่งแนวคิดหลักของโครงการยังคงมุงเนนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับพื้นที่เขตเศรษฐกิจ

              ทั้งดานการคมนาคมขนสงและพลังงาน การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก การกําหนดมาตรการดึงดูดผูลงทุน

              ใหสอดคลองกับขอกําหนดขององคการการคาโลก หรือ WTO และไดมีการเพิ่มเติมในสวนของการพัฒนาเสนทาง
              ขนสงพลังงานทางทะเลและสายสงไฟฟา เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงระบบเครือขายพลังงานแบบเต็มระบบจากสงขลา
              สูปนังและเมดาน เกิดเปนแกนกลางของแนวเขตเศรษฐกิจที่คาดหมายวาทุกจังหวัดและรัฐในอนุภูมิภาค

              จะเชื่อมโยงทางกายภาพเขาสูสะพานเศรษฐกิจนี้ในอนาคต สําหรับโครงการภายใตสะพานเศรษฐกิจ สงขลา–ปนัง–

              เมดาน ประกอบดวย ๓ กลุมโครงการ ดังนี้
                               - กลุมที่ ๑ โครงการที่สนับสนุนโครงการแกนกลาง เชน เสนทางลําเลียงสินคา ทาเรือ
              คลังสินคาและบริการ CIQ (Customs Immigration Quarantine)

                               - กลุมที่ ๒ โครงการที่ไดประโยชนจากโครงการสะพานเศรษฐกิจสงขลา–ปนัง–เมดาน ไดแก

              ศูนยกระจายสินคา บริการชักลาก การทองเที่ยว
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48