Page 40 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 40

รายงานการศึกษาวิจัย  ๒๑
                                                                 เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




               อยางมีประสิทธิภาพ สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถ รวมทั้งโอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการคาโลก ความรวมมือ
               ทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมนํ้าโขงยังมีแผนงานพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจเชื่อมตอระหวางประเทศตาง ๆ
               ตาม ๓ แนวเสนทางเศรษฐกิจ คือ (๑) แนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor) เชื่อมโยง

               ไทย-พมา-ลาว-จีน (๒) แนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor)

               เชื่อมโยง พมา-ไทย-ลาว-เวียดนาม และ (๓) แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor)
               เชื่อมโยง ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม (รูปภาพที่ ๓)
                              นอกจากนี้ ประเทศในความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมนํ้าโขงไดลงนามความตกลง

               ความรวมมือดานพลังงาน วาดวยการซื้อขายไฟฟาและการสรางเครือขายสายสง (Regional Power

               Interconnection and Trading Arrangements) ระหวางรัฐบาล ๖ ประเทศในลุมแมนํ้าโขง
               (Inter-Governmental Agreement on Regional Power Trade) เมื่อ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ โดยความตกลงนี้
               มีวัตถุประสงคใหประเทศสมาชิกรวมมือและวางแผนพัฒนาระบบสงไฟฟาที่เชื่อมตอโยงกัน รวมไปถึงกลไกในการ

               ดําเนินการซื้อขายไฟฟาในอนุภูมิภาค



















































                    รูปภาพที่ ๓  เสนทางเชื่อมโยงการคาการลงทุนของประเทศตาง ๆ ในอนุภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS)
                                                     ที่มา : ธนิต (๒๕๕๖)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45