Page 41 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 41
๒๒ รายงานการศึกษาวิจัย
เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต
๓) กรอบความรวมมือพัฒนาเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย (Indonesia–
Malaysia–Thailand Growth Triangle หรือ IMT–GT) ประกอบดวย ประเทศสมาชิกรวม ๓ ประเทศ ไดแก
อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย การพัฒนานี้เริ่มเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๖ ใน ๒ เรื่องสําคัญ คือ (๑) การพัฒนาพื้นที่
ชายแดน ๓ ประเทศรวมกัน ซึ่งตอมาไดพัฒนามาเปนความรวมมือภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ๓ ฝาย
ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย จนถึงปจจุบัน (๒) การจัดการกาซธรรมชาติในอาวไทยบนบริเวณพื้นที่ทับซอน
ทางทะเล ซึ่งเปนพื้นที่พัฒนารวมไทย–มาเลเซีย (Malaysia–Thailand Joint Development Area หรือ JDA)
ความรวมมือทางเศรษฐกิจสามฝายอินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสราง
ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวาง ๓ ประเทศรวมกัน ใหมีการใชทรัพยากรทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะ
แหลงปโตรเลียมรวมกันอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด และเนนความรวมมือทางดานการผลิต
การสงเสริมการลงทุน และการถายทอดเทคโนโลยี เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันใหกับพื้นที่
๔) กรอบความรวมมือในพื้นที่อาวเบงกอล (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral
Technical and Economic Cooperation หรือ BIMSTEC) ประกอบดวย ๗ ประเทศสมาชิก ไดแก ไทย อินเดีย
ศรีลังกา บังคลาเทศ ภูฏาน สหภาพหมา และเนปาล กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๐ ภายใตการริเริ่มและ
ผลักดันของไทย ความรวมมือภายใตกรอบความรวมมือในพื้นที่อาวเบงกอล มีวัตถุประสงค คือ การสรางความ
เจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาค ที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความเทาเทียมกัน และสงเสริมผลประโยชนรวมกัน
ทางดานเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และความชวยเหลือระหวางประเทศสมาชิก ในรูปของการฝกอบรม รวมถึง
การคนควาวิจัย และการกระชับความรวมมือระหวางประเทศเพื่อใชประโยชนจากภาคกสิกรรมและอุตสาหกรรม
การขยายการคาและการลงทุน ตลอดจนปรับปรุงการสื่อสารและการคมนาคม เพื่อยกระดับความเปนอยูของ
ประชากรในภูมิภาค และสงเสริมความรวมมือที่ใกลชิดกับองคการระหวางประเทศ
๕) กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจาพระยา-แมโขง (Ayeyawady-Chao Phraya-
Mekong Economic Cooperation Strategy หรือ ACMECS) ประกอบดวย ๕ ประเทศสมาชิก ไดแก ไทย
สาธารณรัฐสังคมคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพมา และราชอาณาจักร
กัมพูชา จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ โดยเปนแนวคิดริเริ่มในสมัยของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
ดํารงตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจนี้ มุงเนนนโยบายการลดชองวางทางเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศเพื่อสงเสริมความเจริญอยางยั่งยืนในอนุภูมิภาค อันสงเสริมและกอใหเกิดความเขมแข็งใหแก
กรอบความรวมมืออาเซียน ซึ่งจะเปนยุทธศาสตรที่สําคัญที่จะสงผลตอโอกาสและความเปนไปไดที่ไทยจะเปน
ศูนยกลางขนสงและโลจิสติกสของภูมิภาค
๔.๑.๒ แผนงานและโครงการภายใตกรอบความรวมมือระดับภูมิภาคที่สงผลตอการพัฒนาภาคใต
ภายใตกรอบความรวมมือระดับภูมิภาคไดกอใหเกิดรูปธรรมของแผนงานและโครงการระหวาง
ประเทศในการเขามาพัฒนาพื้นที่รวมกัน โดยเฉพาะกรอบในความรวมมือเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–
ไทย ที่ไดมีการจัดทําแผนงานโครงการที่จะเขามารวมกันพัฒนาพื้นที่ในจังหวัดภาคใตใหสูเศรษฐกิจนานาชาติ
โดยเนนใหเอกชนเปนผูนําในการลงทุนทั้งอุตสาหกรรมและการคา สวนภาครัฐจะเปนผูสนับสนุนดานการพัฒนา
โครงสรางพื้นฐาน และชวยขจัดอุปสรรคตาง ๆ ใหเอกชนในการผานแดน และขจัดมาตรการกีดกันทั้งหลายใหเกิด