Page 42 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 42
รายงานการศึกษาวิจัย ๒๓
เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต
การคาอยางเสรี โดยมีแผนงานสําคัญที่เกี่ยวของโดยตรงและสงผลใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาคใต คือ
แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย และแผนงานพัฒนาโครงการสะพาน
เศรษฐกิจปนัง–สงขลา ซึ่งสามารถสรุปสาระสําคัญในแตละแผนงานได ดังนี้
๑) แผนงานพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย
(Indonesia–Malaysia Thailand Growth Triangle : IMT-GT)
หลังจากมีการกอตั้งเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย (IMT–GT) หรือ
สามเหลี่ยมเศรษฐกิจขึ้น ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian development Bank, ADB) ซึ่งมีรัฐบาลญี่ปุนเปนผูถือหุนใหญ
ก็ไดเขามาใหความชวยเหลือทางวิชาการในการศึกษาความเปนไปได และรายละเอียดการดําเนินงานของการ
กําหนดกรอบความรวมมือระหวางประเทศ ในป พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทหนาที่หลักในการ
พัฒนา และนําเสนอใหภาครัฐอํานวยความสะดวกใหดวยการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานและปรับปรุงกฎระเบียบ
เพื่อกระตุนความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาค ซึ่งมีสาขาความรวมมือระยะแรก ไดแก การขนสงทางบก ทางทะเล
และทางอากาศ การทองเที่ยว การคาการลงทุนและอุตสาหกรรม การเงิน การเกษตรและปศุสัตว โทรคมนาคม
เปนตน
พื้นที่ความรวมมือเมื่อเริ่มกอตั้งประกอบดวย ๕ จังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย ไดแก
สงขลา สตูล ปตตานี ยะลาและนราธิวาส กับ ๔ รัฐของมาเลเชีย ไดแก ปนัง เกดะห เประ ปะลิส และ ๒ จังหวัด
บนเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ไดแก อาเจะห และสุมาตราเหนือ ในปจจุบันพื้นที่ความรวมมือเศรษฐกิจสามฝาย
อินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย ไดขยายพื้นที่ครอบคลุม ๑๔ จังหวัดภาคใตของไทย และ ๑๐ จังหวัดของอินโดนีเซีย โดย
เพิ่มสุมาตราตะวันตก สุมาตราใต เรียวเรียวไอแลนด จัมบี เบงกูลู-เบลิตุง และลัมปุง และ ๘ รัฐของมาเลเซีย
โดยเพิ่ม กลันตัน สลังงอร มะละกา และเนกรีเซมบิลัน
รัฐบาลของทั้งสามประเทศตองการกระตุนใหเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ภายใตลักษณะ
ของความรวมมือและการประสานประโยชนรวมกันทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการใชประโยชนจากทรัพยากรการผลิต
ที่แตละประเทศมีความไดเปรียบ ซึ่งทรัพยากรสําคัญที่มีการตกลงรวมกันใช ก็คือ แหลงปโตรเลียม โดยภาครัฐ
จะเปนผูลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน รวมทั้งออกกฎระเบียบที่จะขจัดอุปสรรคในการผานแดนและมาตรการกีดกัน
ทางการคาแลว จึงใหภาคเอกชนของทั้ง ๓ ประเทศเปนผูนําในการลงทุนทั้งดานอุตสาหกรรมการผลิต การคาและ
การขนสง
การพัฒนากลไกรวมกันเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานในพื้นที่ของประเทศในเขตสามเหลี่ยม
เศรษฐกิจใหมียุทธศาสตรและทิศทางการทํางานที่สอดคลองรวมกัน แบงออกเปน ๕ ระดับ ตั้งแต (๑) กลไกระดับชาติ
ของหนวยงานวางแผนดานเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งทําหนาที่เปนฝายเลขานุการระดับชาติ รวมทั้งดูแลติดตาม
ความกาวหนาในการดําเนินงานตาง ๆ (๒) กลไกระดับทํางานในสาขาตาง ๆ (๓) กลไกภาคเอกชน ไดแก
สภาธุรกิจรวมสามฝาย (๔) การประชุมระดับรัฐมนตรีและเจาหนาที่อาวุโส ที่จัดเปนประจําทุกป โดยจัดพรอมกับ
การประชุมผูวาราชการจังหวัดและมุขมนตรีเขตเศรษฐกิจสามฝาย (๕) การประชุมระดับสุดยอดผูนําเขตเศรษฐกิจ
สามฝาย ซึ่งจะจัดเปนประจําทุกปคูขนานกับการประชุมระดับสุดยอดผูนําอาเซียน
ผลพวงที่สําคัญจากการขับเคลื่อนของกลุมเอกชนอุตสาหกรรม ในความรวมมือเขตเศรษฐกิจ
สามฝายผานสภาธุรกิจรวมสามฝาย ก็คือ การผลักดันโครงการทอสงกาซและโรงแยกกาซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย