Page 47 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 47
๒๘ รายงานการศึกษาวิจัย
เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต
และจัดทําผังกลยุทธระยะเรงดวน ๕ ป (พ.ศ. ๒๕๕๕) ระยะ ๑๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐) และระยะ ๑๕ ป (พ.ศ. ๒๕๖๕)
โดยกําหนดวิสัยทัศนในการวางและจัดทําผังประเทศในระยะ ๕ ปแรก (พ.ศ. ๒๕๕๕) คือ ประเทศไทยเปนประตูการคา
ระหวางกลุมประเทศอาเซียนและจีนตอนใต โดยเปนศูนยกลางการผลิต สงออก แหลงผลิตอาหารปลอดภัย
และอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรที่ใชนวัตกรรม รวมทั้งเปนศูนยกลางการทองเที่ยวและบริการของภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต
๑) ยุทธศาสตรผังภาคใต ป พ.ศ. ๒๖๐๐ ศูนยกลางยางพารา ทองเที่ยวระดับโลก ครัวโลก
ศูนยกลางขนสงทางทะเล เมืองชายแดน อุตสาหกรรมปโตรเคมีครบวงจร
จากผลการศึกษาและวิเคราะหของกรมโยธาธิการและผังเมือง ไดกําหนดยุทธศาสตรในการจัดทํา
ผังภาคใต ป พ.ศ. ๒๖๐๐ ดังแสดงไวใน รูปภาพที่ ๖ ดังนี้
(๑) ศูนยยางพาราโลก และศูนยปาลมนํ้ามัน ดวยการพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรมการผลิต
และแปรรูปยางพาราและปาลมนํ้ามันอยางครบวงจร
(๒) การเปนศูนยกลางการทองเที่ยวระดับนานาชาติที่มีมาตรฐานโลก และเปนแหลงทองเที่ยว
ทางทะเลระดับโลก
(๓) การพัฒนาภาคใตใหเปนสวนหนึ่งของการครัวของโลก โดยสงเสริมใหเปนศูนยกลางอาหาร
ฮาลาลในพื้นที่ภาคใตตอนลาง และอุตสาหกรรมประมงในพื้นที่จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปตตานี และ
จังหวัดระนอง
(๔) การเปนศูนยกลางการขนสงทางทะเล ดวยการพัฒนาทาเรือนํ้าลึก การปรับปรุงทาเรือเดิม
และระบบการขนสงทางทอ
(๕) การพัฒนาเมืองชายแดน เปนประตูการคา ประตูการคมนาคมและขนสง และประตู
เชื่อมโยงการทองเที่ยว โดยเชื่อมโยงกับพื้นที่ตอนใน
(๖) การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปโตรเคมีครบวงจร โดยพัฒนาสะพานเศรษฐกิจพลังงาน
นครศรีธรรมราช กับเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย
รูปภาพที่ ๖ ยุทธศาสตรผังภาคใต ป พ.ศ. ๒๖๐๐