Page 63 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 63

36  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                          ในระดับระหวางประเทศ พบวา กรอบกฎหมายและแนวปฏิบัติดานเอดสมีการพัฒนาอยางเปน
              รูปธรรม โดยนานาประเทศไดเรียกรองใหรัฐประเทศใหความสําคัญตอการพัฒนากฎหมายและนโยบายเพื่อแกไข

              ปญหาการเลือกปฏิบัติ การตีตราและการกีดกันทางสังคมตอกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี โดยใหความเคารพ
              กับหลักการสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่สําคัญ ดังตอไปนี้

                          1. หลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้ ใหความสําคัญในประเด็นเรื่องสิทธิในการ
              จางงานและการประกอบอาชีพของแรงงานที่อาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี ซึ่งโดยทั่วไปแรงงานกลุมดังกลาวจะตองไดรับ

              การคุมครองสิทธิแรงงานโดยเทาเทียม เวนแตในกรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งและไมอาจหลีกเลี่ยงไดที่ไมสามารถ
              จางงานแรงงานที่อาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี ในการประกอบอาชีพนั้น

                          2. หลักสิทธิสวนบุคคล
                          3. การรักษาความลับ

                          ในประเด็นการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ พบวา แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการ
              ทํางานและขอชี้แนะวาดวยเอชไอวีและเอดสในโลกแหงการทํางาน ฉบับที่ 200 ในป พ.ศ. 2553 ถือเปนเอกสาร

              ที่ใหแนวทางแกสมาชิกไตรภาคีขององคการแรงงงานระหวางประเทศ (รัฐบาล ตัวแทนนายจาง และตัวแทนสหภาพ)
              เพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายรัฐ รวมถึงการพัฒนากฎหมายวาดวยเรื่องโรคเอดสและโลกแหง

              การทํางาน ซึ่งเสนอใหรัฐสมาชิกพิจารณากําหนดนโยบายในเรื่องดังกลาว โดยใหความสําคัญกับประเด็นดังตอไปนี้
                          - เรื่องโรคเอดสและการปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีจะตองไดรับการยอมรับและจัดเปน

              ประเด็นสําคัญพื้นฐานในโลกแหงการทํางาน
                          - นิยามของแรงงาน ซึ่งจะตองมีความหมายอยางกวางและครอบคลุมถึง

                            1) แรงงานทุกคน ไมวาจะมีสัญชาติใด ทุกสาขาชีอาชีพ และทุกภาคการผลิต (ภาครัฐ ภาคเอกชน
              รวมถึงแรงงานในภาคเศรษฐกิจนอกระบบ) ไมวาจะมีการทํางานในรูปแบบใด

                            2) แรงงานฝกหัด นักศึกษาฝกงาน แรงงานอาสาสมัคร
                            3)  คนหางานและผูสมัครงาน

                            4)  แรงงานซึ่งถูกปลดออกหรือถูกพักงาน ซึ่งนิยามความหมายนี้ จะสามารถครอบคลุมแรงงาน
              ทุกคนโดยเสมอภาค

                          -  การยอมรับในหลักการสิทธิมนุษยชน เสรีภาพขั้นพื้นฐาน หลักความเสมอภาคทางเพศ
              หลักสิทธิสวนบุคคล

                          -  จะตองไมมีการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพหรือการตีตรากลุมแรงงาน (ตามนิยามที่กลาวมา
              ขางตน) รวมตลอดถึงการเลิกจางเนื่องจากเปนแรงงงานที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี

                          -  แรงงานจะตองไมถูกบังคับใหมีการตรวจหาเชื้อเอชไอวี หรือเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพ
                          -  การสงเสริมใหมีการเจรจาทางสังคมกับสมาชิกไตรภาคี องคกรภาคประชาสังคม และกลุม

              ผูมีสวนไดสวนเสียในประเด็นเรื่องโรคเอดส รวมตลอดถึงสมาชิกในครอบครัว
                          ในระดับประเทศ จากการศึกษาพบวา ในประเทศที่ทําการศึกษานั้น มีกฎหมายเพื่อคุมครอง

              สิทธิมนุษยชนและการไมเลือกปฏิบัติตอกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี ซึ่งหลักการดังกลาวนอกจากจะรับรอง
              ในรัฐธรรมนูญของแตละประเทศแลว ยังมีกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ และแนวนโยบายที่รองรับหลักการ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68