Page 11 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 11
VI รายงานการศึกษาวิจัย
เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
- นิยามหรือลักษณะของ “สิทธิในความเปนอยูสวนตัว” เพื่อใหเกิดความชัดเจนตอการใชสิทธิ
ของประชาชน ตลอดจนการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
- ขอบเขตของสิทธิในความเปนอยูสวนตัว ตามลักษณะหรือเนื้อหาแหงสิทธิใหชัดเจน
- หลักเกณฑหรือแนวทางการพิจารณาตรวจสอบเกี่ยวกับการกระทําอันเปนการแทรกแซง
หรือรุกลํ้าสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคล อันเปนการกระทําที่เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ในการพิจารณาตรวจสอบเกี่ยวกับการกระทําอันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิในความ
เปนสวนตัวของบุคคล มีขอสังเกตเพิ่มเติม ดังนี้
- คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติควรยึดถือกฎเกณฑระหวางประเทศที่เปนหลักสากล
เปนเกณฑในการพิจารณาตรวจสอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนและอนุสัญญา
แหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานเปนสําคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ อาจศึกษา
แนวทางการพิจารณาตรวจสอบหรือการใหเหตุผลของศาลแหงยุโรปดานสิทธิมนุษยชนประกอบดวยก็ได
- การกระทําอันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลอาจเกิดขึ้น
ควบคูหรือพรอม ๆ กับการกระทําความผิดตามกฎหมายเฉพาะฉบับใดฉบับหนึ่ง ดังเชนกรณีการที่องคกรของรัฐ
ปฏิเสธมิใหบุคคลหนึ่งตรวจดูขอมูลประวัติวัยเยาวของตนในชวงที่ตนอาศัยอยูในสถานเลี้ยงเด็ก และขอมูลเหลานั้น
ถูกเก็บรักษาไวที่องคกรของรัฐ ซึ่งศาลแหงยุโรปดานสิทธิมนุษยชนไดเคยวินิจฉัยไวในคดี Gaskin c/Royaume-Uni
ในกรณีเชนนี้ การกระทําความผิดหนึ่งจึงอาจเกิดมี “มิติทับซอน” ขึ้นระหวางการกระทําความผิดตามกฎหมาย
เฉพาะนั้นกับการกระทําอันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิในความเปนอยูสวนตัว ในกรณีเชนนี้ คณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติยอมมีอํานาจหนาที่พิจารณาและตรวจสอบแตเพียงในสวนที่เกี่ยวกับมิติการกระทํา
อันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิในความเปนอยูสวนตัววาการกระทํานั้นเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม
เทานั้น โดยมิอาจกาวลวงพิจารณาลงไปถึงการกระทําอันเปนความผิดตามกฎหมายเฉพาะนั้น ๆ ซึ่งเปนอํานาจ
หนาที่หรือความรับผิดชอบโดยตรงเปนการเฉพาะขององคกรของรัฐแหงอื่นอยูแลว