Page 8 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 8

รายงานการศึกษาวิจัย  III
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                                  บทสรุปสําหรับผูบริหาร
                      รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรอง
                                         และคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว”




                      สิทธิในความเปนสวนตัวถือเปนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานประการหนึ่ง นอกจากจะไดรับการรับรองและ
               คุมครองไวตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 35 แลว ประเทศไทยยังมีพันธกรณี

               ที่จะตองคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว ตามที่ไดปรากฏในสนธิสัญญาระหวางประเทศที่ประเทศไทย
               เขาเปนภาคี เชน กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 ขอ 17

               อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ค.ศ. 1989 ขอ 16 เปนตน แตปรากฏวา การดําเนินงานของหนวยงานหรือเจาหนาที่
               ของรัฐและเอกชน ไดสงผลกระทบตอสิทธิความเปนอยูสวนตัวอยางกวางขวาง เชน การเก็บขอมูลสวนบุคคล

               เพื่อประโยชนในการบริหารงานของรัฐ การติดตั้งกลองโทรทัศนวงจรปดในสถานที่ตาง ๆ การถายภาพ
               การเสนอขาวของสื่อมวลชน การสงขอความทางโทรศัพทมือถือ ฯลฯ และมีปญหาการโตแยงเกี่ยวกับขอบเขต

               ของสิทธิดังกลาว โดยเฉพาะขอยกเวนสําหรับการกระทําที่อาจกระทบกระเทือนถึงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
               ในกรณีที่เปนการกระทําเพื่อประโยชนสาธารณะ ซึ่งทําใหเกิดความไมชัดเจนในการปฏิบัติหนาที่ขององคกรของรัฐ

               ทั้งฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร และฝายตุลาการ รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญที่มีความผูกพันที่จะตอง
               คุมครองสิทธิดังกลาวตามบทบาทอํานาจหนาที่ของแตละองคกร

                      ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จึงไดดําเนินการเพื่อการศึกษาวิจัย เรื่อง “ปญหา
               และมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว” โดยมีสถาบันวิจัย

               และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนที่ปรึกษา ทั้งนี้ เพื่อศึกษาแนวคิด หลักการ พัฒนาการ
               มาตรฐานสากลเกี่ยวกับสิทธิความเปนอยูสวนตัว ขอบเขตของสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเพื่อการตามรัฐธรรมนูญ

               แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 35 กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐฝรั่งเศส
               และสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการคุมครองสิทธิดังกลาวตามกฎหมาย

               ระดับพระราชบัญญัติตาง ๆ และวิเคราะหการกระทําตาง ๆ ของหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐและเอกชน
               ที่อาจมีผลกระทบตอสิทธิความเปนอยูสวนตัวของบุคคล ตลอดจนเสนอแนะแนวทางและมาตรการในการ

               คุมครองสิทธิดังกลาวใหสอดคลองกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
               มาตรา 35 โดยใชวิธีศึกษาวิจัยในเชิงเอกสาร (Documentary research) เพื่อนําองคความรูที่ไดมาวิเคราะห

               และจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนําเสนอรางรายงานการศึกษาวิจัย
                      จากการศึกษาวิจัย คณะผูวิจัยไดสรุปเกี่ยวกับสิทธิในความเปนอยูสวนตัวและการรับรอง และคุมครองสิทธิ

               ดังกลาว รวมทั้งใหขอเสนอแนะที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               ในการตรวจสอบการกระทําการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคล อันเปนการละเมิด

               สิทธิมนุษยชน ดังนี้
                      1.  สิทธิในความเปนอยูสวนตัว และการรับรองและคุมครองสิทธิ

                          สิทธิในความเปนอยูสวนตัว (Right to privacy) ถือเปนสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติ
               ของมนุษยและเกี่ยวดวยศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย ซึ่งมีที่มาจากความเชื่อวาเปนสิทธิที่เปนสิ่งที่ติดตัวมนุษย
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13