Page 69 - การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน
P. 69
๑) ร่างพระราชบัญญัติกำาหนดให้ในการจัดตั้ง
สมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้าง สหพันธ์แรงงาน
สภาองค์การนายจ้าง และสภาองค์การลูกจ้าง ต้องยื่นขอรับใบสำาคัญ
รับรองต่ออธิบดี ยังคงมีขั้นตอนที่คล้ายกับการขอจดทะเบียน เช่น
ให้อธิบดีออกใบสำาคัญรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานนั้น
(ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... มาตรา ๘๗ และ
ร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. .... มาตรา ๔๒)
๒) การให้อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
แรงงานหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย มีอำานาจเข้าไปในสำานักงานของ
สหภาพแรงงานในเวลาทำาการ ขอให้ส่งหรือแสดงเอกสารหรือบัญชี
ของสหภาพแรงงาน สอบถามบุคคลในสหภาพแรงงานเกี่ยวกับการ
ดำาเนินกิจการของสหภาพแรงงาน (ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. .... มาตรา ๑๐๒ และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ
สัมพันธ์ พ.ศ. .... มาตรา ๕๗) และการให้อธิบดีมีอำานาจสั่งให้กรรมการ
หรือคณะกรรมการของสมาคมนายจ้างหรือสหภาพแรงงานออกจาก
ตำาแหน่งได้ (ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... มาตรา ๗๑
และมาตรา ๑๐๓ และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
พ.ศ. .... มาตรา ๕๘) เห็นว่า การเข้าค้นสำานักงานสหภาพแรงงานควร
มีหมายค้นหรือคำาสั่งศาล และการให้กรรมการของสมาคมนายจ้าง
และสหภาพแรงงานออกจากตำาแหน่งควรเป็นคำาสั่งของศาล
๖.๒.๓ สิทธิการรวมตัวเป็นสหพันธ์ สมาพันธ์
ร่างพระราชบัญญัติไม่มีบทบัญญัติที่ชัดเจน
เกี่ยวกับการรวมตัวเป็นสหพันธ์ สมาพันธ์ หรือการเข้าเป็นสมาชิก
สภาองค์การลูกจ้าง กล่าวคือ ร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ
และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน 67
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว