Page 84 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 84

82 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง





                      ๒.      กลไกกฎบัตรสหประช�ช�ติ (Charter-based Mechanisms)





                                                         ๒.๑


                        กระบวนก�รทบทวนสถ�นก�รณ์ประเทศ Universal Periodic Review (UPR)
                          โดยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประช�ช�ติ (Human Rights Council)



                         คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (HRC) เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล องค์กรนี้
                  ประกอบด้วยสมาชิก ๔๗ ประเทศ มีหน้าที่สร้างความเข้มแข็งในการส่งเสริมและการปกป้องสิทธิ

                  มนุษยชนทั่วโลก กลไกหนึ่งของคณะมนตรี คือ กระบวนการทบทวนสถานการณ์ประเทศ (UPR)
                  ในกลไกนี้ คณะมนตรีต้องทบทวนเป็นระยะๆ ตามหลักเกณฑ์พื้นฐาน ว่ามีความก้าวหน้าของการ

                  ดำาเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๑๙๓ ประเทศสมาชิกสหประชาชาติ กระบวนการทบทวน
                  สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของรัฐจะเป็นการทบทวนโดยรัฐสมาชิกอื่น (peer review) ในกระบวนการ

                  จะมีการทบทวนทุกๆ สี่ปีครึ่ง


                  หลักเกณฑ์ของก�รทบทวนสถ�นก�รณ์ประเทศ : Universal Periodic Review (UPR)

                         การทบทวนกระทำาตามข้อมูลเอกสาร ๓ ฉบับ

                         ๑. รายงานประเทศของภาครัฐ  รายงานนี้ควรที่จะจัดทำาขึ้นจากการมีการปรึกษาหารือกับผู้มี

                            ส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ทุกส่วน

                         ๒. ประมวลข้อมูลของสหประชาชาติเกี่ยวกับประกาศนั้นๆ ที่จัดเตรียมโดยสำานักงานข้าหลวง
                            ใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ (OHCHR)

                         ๓. สรุปข้อมูลที่จัดส่งโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ เช่น ภาคประชาสังคม, สถาบันองค์กร
                            สิทธิมนุษยชนในประเทศ ข้อมูลเหล่านี้ สำานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่ง

                            องค์การสหประชาชาติ (OHCHR) เป็นผู้จัดเตรียม


                  เนื้อห�ของร�ยง�นประเทศที่จัดเตรียมโดยภ�ครัฐ

                         คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (HRC) ได้ให้แนวทางในการเขียนรายงาน

                  ดังต่อไปนี้:

                         ก.  คำาอธิบายระเบียบวิธีการ และกระบวนการปรึกษาหารือร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ ที่ใช้ใน
                            การจัดทำารายงาน

                         ข.  ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศที่กำาลังได้รับการทบทวนและกรอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89