Page 85 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 85

คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 83







                               กรอบเชิงบรรทัดฐานและเชิงสถาบัน ในการส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชน ในที่นี้

                               รวมถึง รัฐธรรมนูญ กฎหมาย มาตราการ นโยบาย กระบวนการยุติธรรม โครงสร้าง
                               พื้นฐานสิทธิมนุษยชน อย่างเช่น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และกรอบพันธกรณี

                               ระหว่างประเทศของรัฐ
                            ค.  การส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นจริงในประเทศ ประกอบด้วย การปฏิบัติใช้

                               สิทธิมนุษยชนตามกรอบระหว่างประเทศ ทั้งพันธกรณี ความมุ่งมั่นตั้งใจของรัฐกิจกรรม

                               ของสถาบันสิทธิมนุษยชน การตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนของสาธารณชน และการความ
                               ร่วมมือกันในกลไกสิทธิมนุษยชน

                            ง.  การจำาแนกความสำาเร็จ กรณีตัวอย่าง ข้อท้าทาย และข้อจำากัด

                            จ.  การจัดลำาดับความสำาคัญ ความริเริ่ม และภาระผูกพัน ที่รัฐนั้นๆ มีความตั้งใจที่จะ
                               ดำาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา ข้อท้าทายและข้อจำากัดต่างๆ เพื่อปรับปรุงสถานการณ์

                               สิทธิมนุษยชนในประเทศ

                            ฉ. ความคาดหวังของรัฐนั้นๆ เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพ และการร้องขอความช่วยเหลือ
                               ทางเทคนิคที่อาจตามมา

                            ช.  การนำาเสนอของรัฐนั้นๆ เกี่ยวกับการดำาเนินการที่สืบเนื่องมาจากการทบทวนครั้งก่อน


                     กระบวนก�รทบทวน (Process of Review)

                            ๑. การส่งข้อมูลของรัฐที่กำาลังจะได้รับการทบทวนให้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน

                               แห่งสหประชาชาติ (HRC)

                               ข้อมูลดังกล่าวมีรายงานที่รัฐนั้นจัดส่งประมวลข้อมูลของสหประชาติ ซึ่งสำานักงาน
                     ข้าหลวงใหญ่แห่งสหประชาติ (OHCHR) จัดทำาขึ้น และรายงานสรุปการนำาเสนอของผู้มีส่วนได้

                     ส่วนเสีย คือ องค์กรสิทธิมนุษยชนที่ทำางานในระดับชาติ ภูมิภาค และนานาชาติ  สถาบันสิทธิมนุษยชน
                     ในประเทศ และองค์กรอื่นๆ ซึ่งสำานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ

                     (UNOHHR) เป็นผู้รวบรวมและสรุปเนื้อหา

                            ๒. การทบทวนรายงาน

                               คณะทำางานของการทบทวนเป็นระยะๆ สากล (Universal  Periodic  Review-UPR) เป็น

                     ผู้จัดการประชุมทบทวนรายงานที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  คณะทำางานประกอบด้วย
                     ประเทศสมาชิก ๔๗ ประเทศภายใต้กลไกเรียกว่า “คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (HRC)”

                     การประชุมซึ่งใช้เวลา ๓ ชั่วโมงครึ่ง  เป็นการประชุมระหว่างรัฐกับรัฐที่เป็นกรรมการคณะมนตรีและ
                     รัฐผู้สังเกตการณ์  ในช่วงการประชุมนี้ ประเทศสมาชิกสหประชาชาติใดๆ ก็ตามสามารถตั้งคำาถาม

                     แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะกับประเทศที่กำาลังได้รับการทบทวน  หลังมีการทบทวนจะมี
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90