Page 83 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 83
คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 81
DDD
สถานะของประเทศไทย
ICCPR และคณะกรรมการสิทธิมนุษยประจำากติกาหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง
และสิทธิทางการเมือง (HRC)
กระบวนก�รพิจ�รณ�ร�ยง�นโดย HRC: ประเทศไทยได้เข้�เป็นรัฐภ�คีกติก�ระหว่�ง
ประเทศว่�สิทธิพลเมืองและท�งก�รเมือง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ ร�ยง�นของภ�ครัฐส่งและ
ได้รับก�รพิจ�รณ�แล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมก�รได้ให้สรุปรวมข้อสังเกตต่อ
ร�ยง�นประเทศไว้ต�มเวปไซด์นี้
http://tb.ohchr.org/default.aspx
รายงานรอบที่ ๒ ได้จัดส่งไปเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๒
ICERD และคณะกรรมการว่าด้วยอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติทุกรูปแบบ (CERD)
ก�รพิจ�รณ�ร�ยง�นโดย CERD : ประเทศไทยลงน�มใน ICERD เมื่อพ.ศ. ๒๕๔๖
รัฐบ�ลไทยได้ส่งร�ยง�นแรก และฉบับที่ ๒ ซึ่งได้รับก�รพิจ�รณ�แล้ว เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๔
และคณะกรรมก�รได้ให้สรุปรวมข้อสังเกตไว้ต�มเวปไซด์นี้
http://tb.ohchr.org/default.aspx
รายงานภาครัฐที่ได้จัดส่งให้กับคณะกรรมการแล้ว และกำาลังรอผลการพิจารณาตรวจสอบ
จากคณะกรรมการ
CAT: ประเทศไทยได้ส่งร�ยง�นเบื้องต้นและร�ยง�นสถ�นก�รณ์ร่วมกันให้กับ
คณะกรรมก�รอ�จว่�ด้วยก�รต่อต้�นก�รทรม�น เมื่อเดือนกุมภ�พันธ์
พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะกรรมก�รจะพิจ�รณ�ตรวจสอบในปี พ.ศ. ๒๕๕๗
ICESCR: ประเทศไทยได้ส่งร�ยง�นให้กับคณะกรรมก�รสิทธิเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม เมื่อเดือนสิงห�คม ค.ศ. ๒๐๑๒ คณะกรรมก�รอ�จจะพิจ�รณ�
ตรวจสอบในปี พ.ศ. ๒๕๕๖
CPD: ประเทศไทยได้ประเทศไทยได้เข้�เป็นภ�คีของอนุสัญญ� เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙
ส่งร�ยง�นให้กับคณะกรรมก�รว่�ด้วยสิทธิของคนพิก�ร เมื่อเดือนมีน�คม
พ.ศ. ๒๕๕๕ คณะกรรมก�รอ�จจะพิจ�รณ�ตรวจสอบ ภ�ยในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ -
๒๕๕๗
DDD