Page 191 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 191

คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 189







                     เสมอเมื่อทำาการเก็บข้อมูล มีดังต่อไปนี้

                            v  ก่อนการสัมภาษณ์ ให้ตระหนักถึงเป้าหมายในการสัมภาษณ์บุคคลนั้น เช่น ผู้ให้
                                สัมภาษณ์อาจมีข้อมูลอะไร ข้อมูลนั้นๆ สำาคัญอย่างไรต่อการแสวงหาข้อเท็จจริงที่

                                เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น
                            v  จากข้างต้น ก่อนการสัมภาษณ์ให้จัดเตรียมแนวคำาถาม แนวคำาถามอาจเริ่มต้นจาก
                                คำาถามปลายเปิด เพื่อให้เหยื่อหรือพยานได้เล่าถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในรูปแบบของตัวเอง

                                จากนั้นตามด้วยคำาถามปลายเปิดที่มีความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น เพื่อสืบให้แน่ใจและ
                                พิสูจน์ข้อเท็จจริงเฉพาะที่สำาคัญในการวางรูปคดี

                            v  ขณะที่ทำาการสัมภาษณ์ ควรใช้ภาษาที่ผู้ให้สัมภาษณ์คุ้นเคย เข้าใจง่าย และหลีกเลี่ยงการ
                                ใช้คำาศัพท์เฉพาะทาง ถ้าเหยื่อหรือพยานใช้คำาศัพท์เฉพาะหนึ่งใด ให้ขอให้เขาอธิบาย
                                เพิ่มเติมให้ทราบข้อชัดเจนขึ้นว่า เขาหมายถึงอะไรกันแน่  สิ่งนี้สำาคัญมาก เพราะ

                                แต่ละคนอาจมีความเข้าใจที่แตกต่างกันเกี่ยวกับคำาศัพท์นั้นๆ

                     ก�รเก็บรวบรวมพย�นหลักฐ�นชนิดเอกส�ร

                            การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานชนิดเอกสารขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงและสภาวการณ์  สิ่งบันทึก

                     ที่ช่วยพิสูจน์ข้อเท็จจริงในแต่ละแง่มุม อาจมีความแตกต่างประเภทกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงและ
                     สภาพการณ์ของคดี สิ่งที่บันทึกอาจจะมีดังต่อไปนี้
                            v  เอกสารซึ่งอาจเป็นรายงานทางการแพทย์ เอกสารของศาล บันทึกประจำาวันของตำารวจ

                                เป็นต้น ตัวอย่างในกรณีที่ผู้ต้องสงสัยถูกจับกุมคุมขังโดยพลการ  เอกสารที่เกี่ยวข้อง
                                ก็จะเป็นที่ช่วยในการตรวจสอบว่าการจับกุมและคุมขังนั้นได้ปฏิบัติตามวิถีทางที่ควรจะ
                                                                 ๖๑
                                เป็นทางกฎหมายหรือศุภนิติกระบวนการ  (due process of law) หรือไม่ เอกสารรวม
                                ความถึงบันทึกภายในสำานักงาน จดหมาย หรือเอกสารอื่นๆ ที่สามารถช่วยบ่งชี้ประเด็น
                                ว่า “ใคร” “อะไร” และ “ทำาไม” ของคดี

                            v  รูปภาพ ที่แสดงบาดแผลของผู้ได้รับบาดเจ็บ หรือรูปภาพของรอยกระสุน ในกรณีที่มีการ
                                ยิงกัน หรือ สถานที่เกิดเหตุ เป็นต้น

                     เก็บข้อมูลจ�กพื้นที่เกิดเหตุ


                            การสำารวจสถานที่เกิดเหตุช่วยในการเชื่อมโยงข้อมูลชิ้นอื่นๆ เกี่ยวกับลักษณะพฤติการณ์
                     ที่เกิดขึ้น และคำาบอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์ ก่อนที่จะลงไปทำาการสำารวจสถานที่พื้นที่เกิดเหตุ
                     ผู้ค้นหาข้อเท็จจริงควรทำาตัวให้คุ้นเคยกับพื้นที่ ควรมีการจดรายละเอียดของพื้นที่หลังเกิด เช่น กรณีที่

                     มีการยิงกันในบ้าน ให้จดรายละเอียดของห้อง รอยกระสุน ตำาแหน่งของศพ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
                     เป็นต้น




                     ๖๑  แปลตามราชบัณฑิตยสถาน
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196