Page 14 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 14
๑
ส่วนที่ การอนุวัติกฎหมายภายในให้เป็นไปตามอนุสัญญา
ต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการ
่
ลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ยำายีศักดิ์ศรี (CAT) และ
เพื่อเตรียมการรองรับการดำาเนินการตามพิธีสารเลือกรับของ
อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่น
่
ที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือที่ยำายีศักดิ์ศรี (OPCAT)
๑.๑ การอนุวัติกฎหมายภายในให้เป็นไปตามอนุสัญญาต่อต้าน
การทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย
ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี (CAT)
๑.๑.๑ ความเป็นมา
๑) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ได้รับรองอนุสัญญาต่อต้านการ
ทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือ
่
ที่ยำายีศักดิ์ศรี (CAT) เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ (ค.ศ. ๑๙๘๔)
และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๓๐ (ค.ศ. ๑๙๘๗) ประเทศไทย
เข้าเป็นภาคีแห่งอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ และอนุสัญญาฯ
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยได้ทำาคำาแถลงตีความ
และจัดทำาข้อสงวน ดังนี้
๑.๑) การแถลงตีความเข้าใจในการดำาเนินการตามบทบัญญัติ
ของอนุสัญญาฯ ว่าจะเป็นไปตามประมวลกฎหมายอาญาของไทยที่ใช้ใน
ปัจจุบันใน ๓ ข้อ คือ ข้อ ๑ นิยามของคำาว่า “การทรมาน” ข้อ ๔ การ
กำาหนดให้การทรมานเป็นความผิดที่ลงโทษได้ตามกฎหมายอาญาและ
12 การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย