Page 76 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 76
อาชญากรรม” นายซาลิล เซตตี้ เลขาธิการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล กล่าว
“เราอาจพบเหตุผลที่แท้จริงที่สนับสนุนการใช้โทษประหารจากที่อื่น แต่ในปี ๒๕๕๕ เรารู้สึก
กังวลอย่างยิ่งที่เห็นหลายประเทศประหารชีวิตบุคคลด้วยเหตุผลทางการเมืองอย่างค่อนข้างแน่ชัด
ทั้งการอ้างว่าเป็นเครื่องมือแบบประชานิยม หรือการประหารชีวิตเพื่อเป็นเครื่องมือในการกดขี่
ปราบปราม” (แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล, ๒๕๕๕)
สำาหรับสถิติการประหารชีวิตของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกใน พ.ศ. ๒๕๕๕ ปรากฏในตาราง
ต่อไปนี้
ต�ร�งที่ ๖ ประเทศที่มีก�รร�ยง�นก�รประห�รชีวิต ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕
ประเทศ จำ�นวนผู้ถูกประห�รชีวิต (คน)
สาธารณรัฐประชาชนจีน คาดว่ามีการประหารชีวิตจำานวนมาก
อิหร่าน มากกว่า ๓๑๔
อิรัก มากกว่า ๑๒๙
ซาอุดิอาระเบีย มากกว่า ๗๙
สหรัฐอเมริกา ๔๓
เยเมน ๒๘
ซูดาน มากกว่า ๑๙
อัฟริกานิสถาน ๑๔
โซมาเลีย (โดยคณะรัฐบาลชั่วคราว) ๑๒
ญี่ปุ่น ๗
แกมเบีย ๙
เกาหลีเหนือ มากกว่า ๖
ไต้หวัน ๖
ปาเลสไตน์ (ฉนวนกาซาภายใต้การปกครอง ๖
โดยพฤตินัยของกลุ่มฮามัส)
ซูดานใต้ มากกว่า ๕
เบลารุส มากกว่า ๓
บอตสวานา ๒
บังคลาเทศ ๑
อินเดีย ๑
ปากีสถาน ๑
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ๑
ที่มา : แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล, ๒๕๕๕
โทษประหารชีวิตในประเทศไทย 63