Page 31 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 31
ค าน า
โครงการประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็น
โครงการที่ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ ร่วมกับการวิจัยเอกสาร จาก
้
กลุ่มเปาหมายผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ได้แก่ ผู้บริหาร
ส านักงาน เจ้าหน้าที่ส านักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะอนุกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ ผู้ร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน นักกฎหมายด้านสิทธิมนุษยชน นักวิชาการและ
ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพ และศึกษาระบบงาน
รูปแบบ และกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการจัดท ารายงานความ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติในส่วนของการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อให้ได้ระบบการ
ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีคุณภาพ คณะผู้วิจัยมีการควบคุมคุณภาพของการส ารวจทุก
ขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบวิจัย รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือวัด เพื่อคุณภาพสูงสุดของข้อมูลที่ได้
จากการส ารวจ คณะผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะสะท้อนสถานการณ์ที่แท้จริง และ
เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อส านักงานฯ
อนึ่ง โครงการส ารวจวิจัยครั้งนี้ส าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี โดยความร่วมมือจากคณะท างานใน
้
การร่วมก าหนดกรอบแนวทางการด าเนินการวิจัย รวมทั้งกลุ่มเปาหมายทุกท่านที่ได้เสียสละเวลา
แสดงความคิดเห็นในครั้งนี้ ซึ่งศูนย์วิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ขอขอบคุณ มา ณ
โอกาสนี้
คณะผู้วิจัย
ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- ต -