Page 10 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 10

ั
               เริ่มโครงการ เช่น การให้ข้อมูล สํารวจพื้นที่ การรับฟงข้อมูลข้อเท็จจริง การกําหนดพิจารณาแนวทางการแก้ไข
                 ั
               ปญหา  ให้มีการปรับปรุงแก้ไขระเบียบหลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนหรือเวนคืนที่ดินใหม่ เพื่อให้เกิดความเป็น
                                                      ั
               ธรรมและเหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ปจจุบัน โดยให้ผู้ที่เป็นเจ้าของที่ดินและผู้ที่มีสิทธิครอบครองที่ดินมี
               ส่วนร่วมในการกําหนดหลักเกณฑ์ดังกล่าว และให้กรมที่ดินมีการปรับปรุงแก้ไขระเบียบและกระบวนการออก
               เอกสารสิทธิโดยให้ประชาชนหรือชุมชนมีส่วนร่วม

                       ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.) มีลักษณะพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งได้แก่การจัดที่ดินทับซ้อน
               การออกเอกสารรับรองสิทธิล่าช้า การดําเนินคดีราษฎรที่มีข้อพิพาท โดยมีสาเหตุจากการจัดที่ดินให้ผู้ไม่มี
                                               ่
                                                                       ่
               คุณสมบัติ การจัดที่ดินปฏิรูปทับพื้นที่ปาชุมชน การกันที่ดินคืนกรมปาไม้ทําให้ราษฎรที่ทํากินไม่ได้รับที่ดิน การจัด
                                                                                          ั
                                                          ่
                                      ่
               ที่ดินล่าช้าทําให้หน่วยงานปาไม้อ้างว่ายังเป็นพื้นที่ปาและถูกจับกุมดําเนินคดี ส่งผลให้เกิดปญหาราษฎรไม่สามารถ
               เข้าไปใช้ประโยชน์ที่ดินไม่ได้หรือไม่ได้รับเอกสารรับรองสิทธิ
                                                            ่
                       กล่าวโดยสรุป การละเมิดสิทธิด้านที่ดินและปาในภาพรวม  มีลักษณะขอบเขตการสงวนหวงห้ามที่ดินของ
               รัฐไม่ชัดเจน ขาดการมีส่วนร่วมของราษฎร ใช้อํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานตามดุลพินิจที่ไม่มีมาตรฐาน โดยมี
               สาเหตุมาจากการใช้อํานาจรัฐส่วนกลางไปล้มล้างทําลายระบบสิทธิอํานาจของชุมชน ตลอดจนขาดกระบวนการ

               คลี่คลายข้อพิพาทที่มีประสิทธิภาพเพราะขาดการมีส่วนร่วมของราษฎร รวมทั้งความไม่ทันสมัยของนโยบายและ
                                                                                           ั
               กฎหมาย และการขาดความรู้ความเข้าใจในบริบทท้องถิ่นของพนักงานเจ้าหน้าที่ ทําให้เกิดปญหาข้อพิพาทขัดแย้ง
                              ่
               ในเรื่องที่ดินและปาจํานวนมากและมีความรุนแรง
                       โครงการวิจัยฯ มีข้อเสนอในการปรับปรุงนโยบายและกฎหมายดังนี้

                       ข้อเสนอเชิงหลักการ
                       - รัฐควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ราษฎรได้รับสิทธิที่จะมีที่ดินอยู่อาศัยและทํากินเพียงพอต่อการยังชีพและ

               การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างทั่วถึง โดยสํารวจราษฎรที่ไม่มีที่อาศัยทํากินและเร่งรัดจัดที่ดินให้ราษฎรผู้ไม่มีที่ดินทํา
               กินให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว
                                                                                                   ้
                       - รัฐควรจัดการศึกษาให้ราษฎรและเจ้าหน้าที่รัฐมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิและการปกปองคุ้มครอง
               สิทธิในที่ดินของราษฎรและชุมชน  และเมื่อราษฎรมีข้อพิพาทเรื่องที่ดิน รัฐควรจะต้องมีหน่วยงานให้ข้อมูลและ
               คําปรึกษาแนะนําทางวิชาการและระเบียบกฎหมายแก่ราษฎร
                              ั
                       - เมื่อมีปญหาพิพาทขัดแย้งเรื่องสิทธิในที่ดินและทรัพยากร รัฐจะต้องวางโครงสร้างและกลไกการแก้ไข
                 ั
                                                     ั
               ปญหาอย่างมีส่วนร่วมแบบถาวร ราษฎรที่มีปญหาพิพาทขัดแย้งเรื่องสิทธิในที่ดินและทรัพยากร จะต้องมีส่วนร่วม
                                        ั
               ในกระบวนการจัดการแก้ไขปญหาข้อพิพาทในที่ดิน
               ข้อเสนอเฉพาะหน้า

                       ด้านกระบวนการยุติธรรม เสนอให้ยุติการกระทําที่รุนแรงต่อราษฎรในพื้นที่พิพาททั้งโดยหน่วยงานของ
               รัฐและภาคเอกชน และสร้างกลไกและกระบวนการยุติธรรมที่ให้ช่วยให้ราษฎรได้เข้าถึงทรัพยากรในการต่อสู้เพื่อ
               ความเป็นธรรมในกระบวนการยุติธรรมได้จริง ทั้งในระดับท้องถิ่นและในระดับชาติ

                       ด้านข้อมูลและระบบฐานข้อมูล รัฐควรปรับปรุงการเก็บข้อมูลและการเก็บรักษาข้อมูลและหลักฐาน
               เกี่ยวกับที่ดินให้ดีและปลอดภัย และมีกลไกให้สาธารณตรวจสอบและเข้าถึงข้อมูลที่ดินของรัฐได้โดยง่าย

               ข้อเสนอระยะยาว
                       - ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรทั้งหมด โดยทําเป็น “ประมวลกฎหมายการบริหารจัดการ
               ที่ดินและทรัพยากร” ที่มีลักษณะเป็นกฎหมายส่งเสริม เพื่อลดการทับซ้อนของกฎหมายหลายฉบับในที่แปลง



                                                             ช
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15