Page 59 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 59

50


                  3.3   ผลกระทบของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญที่มีตอรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่น

                         3.3.1 ผูประกอบธุรกิจคาปลีกขนาดใหญมองวาเปนยุคของการหามขายของถูก

                         มีผลการสํารวจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนและความอยูรอดของธุรกิจดั้งเดิมวา ปจจุบันหาง
                  คาปลีกสมัยใหมมีมูลคาและสวนแบงการตลาดที่เพิ่มขึ้นตั้งแต ป พ.ศ. 2553 ที่ผานมา โดยมีมูลคายอดขายธุรกิจ

                  คาปลีกไทยอยูที่ 1.32  ลานลานบาท และในป 2555  คาดวาจะมีมูลคารวมที่ 1.45  ลานลานบาท ในขณะที่
                  ยอดขายสินคาในรานโชหวยใน ป พ.ศ. 2553 มีมูลคา 660,000 ลานบาท โดยมีสวนแบงตลาดรอยละ 50 แตใน
                                                                                           15
                  ป พ.ศ. 2555 คาดวายอดขายจะลดลงเหลือ 650,000 ลานบาท เหลือสวนแบงตลาดรอยละ 45
                                                                                           16
                         ขอมูลจากเอกสารของสมาคมผูคาปลีกไทย 2550  และรายงานของ A.C. Neilsen  พบวา มีจํานวน
                  รานคาปลีกรายยอยที่ไดรับผลกระทบจากการขยายตัวของหางคาปลีกขนาดใหญ จํานวนมากถึง 680,000 ราน

                  และจํานวนตลาดสด 125,000  ตลาด ซึ่งหากตลาดรายยอยตองปดกิจการทั้งหมดจะมีผูคารายยอยที่ไดรับ
                  ผลกระทบ จํานวน 6.25  ลานคน และหากแตละคนมีครอบครัวที่ตองเลี้ยงรายละ 3  คน ก็จะมีผูไดรับ
                  ผลกระทบมากถึง 18.75  ลานคน ประกอบกับรานโชหวยที่เลี้ยงคนอีกรานละ 3  คน ก็จะมีผูไดรับผลกระทบ
                                    17
                  รวมกัน 20.79 ลานคน 16  นอกจากนี้ ศูนยวิจัยพัฒนาธุรกิจคาปลีกและแฟรนไชสสากล และศูนยวิจัยพฤติกรรม
                  บริโภค คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (เมื่อ ป พ.ศ. 2550) ไดสํารวจและวิจัยผลกระทบจากการเติบโต
                  ของรานคาปลีกสมัยใหมที่มีตอรานคาปลีกแบบดั้งเดิมในเขตกรุงเทพฯ โดยสุมตัวอยางจากรานโชหวยที่เปด
                  ดําเนินการมา 1  ปขึ้นไป จํานวน 400  ราน พบวารานคาปลีกสมัยใหมประเภทไฮเปอรมารท สงผลกระทบตอ

                  รานโชหวยมากที่สุดถึงรอยละ 34  เปอรเซ็นต โดยผลสํารวจยังระบุวา ในเขตกรุงเทพฯ ขณะนี้รานโชหวยตอง
                  เลิกกิจการ คิดเปนสัดสวน 40 เปอรเซ็นต ในจํานวนนี้กวาครึ่งหนึ่งปดตัวเอง และอีกครึ่งหนึ่งหันไปทําธุรกิจอื่น
                  หรือ ในจังหวัดเชียงใหมมีจํานวนรานคาปลีกดั้งเดิมลดลงถึง 15 เปอรเซ็นต เนื่องจากไมสามารถแขงขันกับธุรกิจ
                                  18
                  คาปลีกขนาดใหญได17
                        นายพีระพงษ  กิติเวชโภคาวัฒน ผูอํานวยการศูนยวิจัยพัฒนาธุรกิจคาปลีกและแฟรนไชสสากล

                  (กลาวเมื่อ พ.ศ. 2550)  คาดการณวา ภายใน 3–5 ป ขางหนา ตลาดคาปลีกของไทยจะมียอดขายมาจาก
                  หางคาปลีกสัดสวนถึง 80 เปอรเซ็นต และจากรานโชหวย 20 เปอรเซ็นต กลาวคือ การปรับสูงกวา 65 เปอรเซ็นต
                  (ป พ.ศ. 2549)  ไปจนถึง 80 เปอรเซ็นต (ป พ.ศ. 2550) ซึ่งมีผลกระทบตอรานคาปลีกดั้งเดิมอยางหลีกเลี่ยงไมได
                  ตัวอยางเชน การเปดสาขาของหางคาปลีกขนาดใหญ 1  แหง จะทําใหรานโชหวยอยูรอบรัศมี  1  กิโลเมตร

                  ตองปดกิจการลง โดยเฉพาะสินคากลุมเสื้อผา รานถายรูป และรานตัดผม มีอัตราเสี่ยงในการปดกิจการมาก
                                                                                                        19
                  ที่สุด และผลกระทบตอรานคาปลีกดั้งเดิมตางจังหวัดจะไดรับผลกระทบรุนแรงมากกวากรุงเทพมหานคร18


                  15
                     ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจมหาวิทยาลัยหอการคาไทย, 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555.
                  16
                     ศูนยวิเคราะหขอมูลทางเศรษฐกิจ :  Nielsen  offers an  integrated suite  of market  information
                  gathered from a wide range of sources, advanced information management tools, sophisticated

                  analytical systems and methodologies, and dedicated professional client service to help our
                  clients find the best paths to growth.
                  17
                     เรื่องเดียวกัน.
                  18
                     ยโสธรา จวงเจิม, ผลกระทบของธุรกิจคาปลีกขามชาติตอพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนในจังหวัด
                  เชียงใหม, 2546.
                  19
                     หนังสือพิมพคมชัดลึก, เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2550.
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64