Page 57 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 57

48


                         หางคารฟูร

                         หางคารฟู เปนธุรกิจรวมทุนกันระหวางบริษัท เซ็นทรัลรีเทล คอรเปอเรชั่น และบริษัท คารฟูร
                  เนเธอรแลนด มีอัตราสวน 60:40  ในนามบริษัท เซนคาร จํากัด แตภายหลังบริษัท เซ็นทรัลรีเทล คอรเปอเรชั่น
                  ประสบปญหาทางธุรกิจอันเปนผลจากวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อป พ.ศ. 2540 บริษัทฯ จึงไดจํานองหุนระยะยาวใหกับ
                  คารฟูรฯ


                          ขอมูลบริษัทฯ ที่ระบุไวในเว็ปไซต อธิบายประวัติกิจการในประเทศไทยวา เริ่มเปดสาขาแรกในป
                  ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2534) บนถนนสุขาภิบาล 3 กรุงเทพมหานคร โดยปจจุบัน หางคารฟูร มีสาขาจํานวนทั้งสิ้น
                  35 สาขา และมีสาขาที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครจํานวน 23 สาขา และตางจังหวัดอีก 15 สาขา ไดแก ภาคกลางที่
                  จังหวัดลพบุรี ภาคตะวันออกที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี (และพัทยา)  ภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม
                  (ตัวเมืองเชียงใหม และอําเภอหางดง)  จังหวัดพิษณุโลก ภาคใตที่จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช

                  จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสงขลา (อําเภอหาดใหญ) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดอุดรธานี

                        โดยประกอบกิจการคาปลีกสมัยใหมในรูปแบบไฮเปอรมารเก็ต และมีการขยายรูปแบบ คารฟูร
                  มารเก็ต อยู 1  สาขา ที่คลองสามวา กรุงเทพมหานคร เพื่อปรับกลยุทธทางการแขงขันทางการคาในตลาด
                                                                                                         9
                  คาปลีกโลก บริษัท คารฟูร เอสเอ มีแผนขายกิจการคาปลีกในประเทศไทย มาเลเซีย และสิงคโปร 8
                  โดยปจจุบัน บริษัท Casino Guichard-Perrachon  กลุมทุนคาปลีกประเทศฝรั่งเศส ไดชนะการประมูล
                                           10
                  กิจการคารฟูรในประเทศไทย 9  และไดเปลี่ยนหางคารฟูร ใหกลายเปนหางบิ๊กซี จึงทําใหตลาดคาปลีกใน
                  ประเทศไทยคงเหลืออยูเพียง 2 แหงใหญ ไดแก เทสโก โลตัส และหางบิ๊กซี



                  3.2   รูปแบบการขยายสาขาธุรกิจคาปลีกขนาดใหญในประเทศไทย


                         รูปแบบในการขยายสาขาของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ มี 2 ลักษณะ

                        3.2.1 การขยายกิจการสาขาไปยังภูมิภาค โดยพิจารณาจากปจจัยเอื้อตอการลงทุน เชน จังหวัดที่เปน

                  ศูนยกลางทางเศรษฐกิจภูมิภาค เชน จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดขอนแกน
                  จังหวัดรอยเอ็ด หรือ จังหวัดสงขลา เปนตน


                        3.2.2 การลดขนาดพื้นที่เปนสาขายอยเพื่อกระจายไประดับชุมชน

                        รูปแบบนี้เพื่อขยายชองทางการจัดจําหนาย ใหสามารถแพรกระจายไปไดครอบคลุมทุกจังหวัด
                  ทุกพื้นที่ชุมชน โดยอาศัยรูปแบบ 3.2.1 เปนปจจัยเกื้อหนุนในการดําเนินการ

                                                        11
                         งานวิจัยเรื่องสองนคราคาปลีกไทย 10  ไดอธิบายวา รูปแบบการขยายสาขาของบรรษัทคาปลีก
                  ขามชาติในตางจังหวัดวา การขยายกิจการของหางคาปลีกขนาดใหญของกลุมทุนตางชาติไดเกิดเปน
                  ปรากฏการณอยางรวดเร็วมากตั้งแตป พ.ศ. 2541 เปนตนมา โดยระหวางชวงป พ.ศ. 2545 - 2548 มีอัตรา




                  9
                    ขอมูลจาก www.moneychannel.co.th, 6 กรกฎาคม 2553.
                  10
                     Http: //www.carrefour.com/docroot/groupe/C4com/Pieces_jointes/Document_de_ref/
                  2011/ DocdeRef2010.pdf.
                  11
                     วีระยุทธ การญจนชูฉัตร, เรื่องเดียวกัน,หนา 254-255.
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62