Page 58 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 58

49


                  การขยายกิจการเฉลี่ยรอยละ 24.2 ตอปเหตุผลในการขยายสาขาไปตางจังหวัดมีเงื่อนไขเรื่องความสัมพันธ
                  แบบตลาด (Market Relationship) กลาวคือ

                                                                                     12
                              1) การแสวงหากลุมลูกคา (ตลาด) เพื่อผลกําไรสูงสุดเปนหลักสําคัญ11
                              2) ความสัมพันธเชิงอุปถัมภ (ความสัมพันธแบบที่มิใชตลาด)

                        ทางเลือกและชองทางเขาไปลงทุนในพื้นที่นั้น ตองมีการคํานึงดานปจจัยอันเปนลักษณะพื้นฐาน

                  ของแตละจังหวัด ไดแก
                        1) ลักษณะพื้นฐานของจังหวัดเหมือนกรุงเทพมหานคร (ความเปนเมือง) หมายถึง หางทองถิ่น

                  ไมไดมีลักษณะเฉพาะที่มีความไดเปรียบ แตเปนเพียงผูที่เขาสูตลาดกอน และแทบจะไมมีการประทวงหรือ
                                                     13
                  ตอตานจากผูคาปลีกและประชาชนในพื้นที่12  ที่เรียกวา “รูปแบบทองถิ่นโลกาภิวัตน”
                        2)  ลักษณะพื้นฐานของจังหวัดที่ทุนทองถิ่นมีเปรียบหรือมีสิทธิบางอยางครอบครองอยู  หมายถึง
                  การที่หางทองถิ่น (กลุมทุนทองถิ่น) มีเปรียบเรื่องการเปนเจาของทําเลที่ตั้งที่ไดเปรียบ แตหลีกเลี่ยงที่จะแขงขัน
                  กับกลุมทุนขนาดใหญตางชาติ จึงเลือกวิธีการในการรวมทุนแทนที่เรียกวา “รูปแบบทองถิ่นรวมทุน”


                        3) ลักษณะพื้นฐานของจังหวัดที่ทุนทองถิ่นมีความสัมพันธใกลชิดกับรัฐทองถิ่น หมายถึง การที่
                  กลุมทุนทองถิ่นเลือกที่จะแขงขันกับกลุมทุนตางชาติ เพราะเชื่อมั่นในศักยภาพของตนประกอบกับหลีกเลี่ยง
                  การใชการแขงขันตามกลไกตลาดโดยตรง และอาศัยความใกลชิดหรือความเปนรัฐทองถิ่นกีดกัน ที่เรียกวา
                  “รูปแบบทองถิ่นนิยมแบบกีดกัน”

                        4)  ลักษณะพื้นฐานของจังหวัดที่กลุมทุนทองถิ่นและประชาชนใกลชิดกัน  หมายถึง กลุมทุน

                  ทองถิ่นสามารถรวมมือกันไดอยางมีเอกภาพ และประชาชนในทองถิ่นนั้นมีความใกลชิดกับทุนทองถิ่น ไมวา
                  จะเกิดจากแบบแผนการดํารงชีวิต หรือ การเพิ่มระดับการเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมทองถิ่น ที่เรียกวา
                  “รูปแบบทองถิ่นนิยมแบบแขงขัน”

                        นายบํารุง  บุญปญญา ผูนําเครือขายภาคประชาชนไดใหความเห็นเปนขอสังเกตวา กลุมทุน
                  ทองถิ่นสวนใหญมักเลือกปกปองผลประโยชนของตนเอง ซึ่งเมื่อตกลงกันไดก็เลือกแบบรวมทุนหรือ
                                                        14
                  ไดรับประโยชนจากความมีเปรียบอยูแตเดิม13  เชน การขายที่ดินของตนเปนที่ตั้งหางขนาดใหญ หรือการ
                  เขารวมเปนหุนสวนกัน เปนตน จะยินดีใหมีการขยายกิจการของหางคาปลีกขนาดใหญของกลุมทุนตางชาติ









                  12
                     นายเจฟฟ อดัมส ประธานกรรมการบริหาร เทสโก โลตัส ประเทศไทย ยอมรับวา เทสโก เปนโมเดิรนเทรดที่
                  ครองอันดับหนึ่งในไทย และเทสโก ในไทย มียอดขายเปนอันดับ 2  ของเทสโกในตางประเทศ, กรมการคา
                  ภายใน กระทรวงพาณิชย, 2550.
                  13
                      เหตุที่ประชาชนไมตอตานหางคาปลีกตางชาติ เพราะอดีตที่ผานมารานคาในทองถิ่นกอบโกยจากพี่นอง
                  ประชาชนในพื้นที่ไปมากเชนกัน,  กัญญานนท กมลยาบุตร กรรมการหอการคา จังหวัดนครราชสีมา กลาวกับ
                  สํานักขาว INN., เมื่อ 29 มิถุนายน 2544.
                  14
                     สัมภาษณ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2553.
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63