Page 220 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 220

211

                         มาตรา ๙ กรรมการตามมาตรา ๗(๓) และ(๔) มีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป
                         กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินสอง

                  วาระไมได
                         เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการแตงตั้งกรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการซึ่งพนจาก
                  ตําแหนงตามวาระนั้นอยูในตําแหนงเพื่อดําเนินงานตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหมเขารับหนาที่

                         มาตรา ๑๐ นอกจากพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๙ กรรมการตามมาตรา ๗(๓) และ (๔) พน
                  จากตําแหนงเมื่อ
                         (๑) ตาย
                         (๒) ลาออก

                         (๓) คณะรัฐมนตรีใหออก
                         (๔) เปนบุคคลลมละลาย
                         (๕) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
                         (๖) ตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก แมวาจะมีการรอการลงโทษ เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได

                  กระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
                         (๗) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๘
                         (๘) พนจากการเปนผูแทนสภาหอการคาแหงประเทศไทย ผูแทนสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
                  ผูแทนสมาคมที่มีวัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภค หรือผูแทนสมาคม การคาที่มีวัตถุประสงคในการสงเสริม

                  การประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสง ในกรณีที่ไดรับแตงตั้งในฐานะนั้น
                         มาตรา ๑๑ เมื่อกรรมการตามมาตรา ๗(๓) และ(๔) พนจากตําแหนงกอนวาระ ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง
                  ทรงคุณวุฒิอื่น หรือผูแทนอื่นของสถาบันหรือองคกรเอกชนเปนกรรมการแทน เวนแตวาระดํารงตําแหนงของ
                  กรรมการจะเหลือไมถึงเกาสิบวันและใหกรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับ

                  วาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน
                         ในระหวางที่ยังไมมีการแตงตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหกรรมการเทาที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได
                  และใหถือวาคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการเทาที่เหลืออยู
                         มาตรา ๑๒ คณะกรรมการมีอํานาจและหนาที่ดังตอไปนี้

                         (๑) กําหนดนโยบาย มาตรการและแผนการจัดระบบการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสง การปองกัน
                  และแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสงรายยอย ผูผลิตสินคา เกษตรกร หรือความ
                  เปนอยูของประชาชน ชุมชนและสิ่งแวดลอมใหเปนไปตามวัตถุประสงคของพระราชบัญญัตินี้

                         (๒) ใหคําแนะนําตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้
                         (๓) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดนโยบายสนับสนุน สงเสริมและพัฒนาธุรกิจคาปลีกหรือคา
                  สงรายยอยใหมีการเชื่อมโยงเปนเครือขายธุรกิจหรือรวมกลุมดําเนินกิจกรรมทางการตลาด เพื่อลดตนทุนสินคา
                  คาขนสง ใหเกิดประสิทธิภาพและมีความเขมแข็ง ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑสินคา เพื่อประโยชนในการ
                  ประกอบธุรกิจ และเพื่อใหกรมพัฒนาธุรกิจการคาดําเนินการตามนโยบายสนับสนุน สงเสริมและพัฒนาธุรกิจคา

                  ปลีก หรือคาสงรายยอยที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติแลว
                         (๔) เชิญบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาใหคําอธิบาย คําแนะนํา หรือความเห็น
                         (๕) มีคําสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของมาใหขอเท็จจริงหรือทําคําชี้แจงเปนหนังสือ

                         (๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225