Page 39 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 39
• “ที่นี่ [ที่เราอาศัยอยู่] มีต้นไม้ให้ร่มเงา เราเคยชินกับ
การอยู่ในพื้นที่ที่สงบ และเราชอบความสงบสุขเช่นนี้”
– เจ้าของที่นา หมู่บ้านมูดู
• “เราก็แก่แล้ว อยากอยู่ในที่ของเราเอง ไม่มีผลหมาก
รากไม้ในพื้นที่รองรับผู้อพยพเลย เราจะกลายเป็นคน
ว่างงานถ้าไปอยู่ที่นั่น และจะต้องหาเช้ากินคำ่าจาก
การรับจ้างรายวัน” – ชาวนาหญิง หมู่บ้านปาราดัต
• “ถ้าเราต้องถูกโยกย้ายและไม่มีแผ่นดินให้อยู่ เราจะ
กลายเป็นคนไร้ชาติไร้เผ่าพันธุ์ในที่สุด” – ชาวนาชาย
สูงวัย หมู่บ้านมูดู
• “ถ้าเราต้องย้ายไปอยู่ที่อื่น เราจะเผชิญกับแรงกดดัน
ทางจิตใจอย่างมาก มันคงจะไม่เหมือนเดิมที่อยู่กันอย่าง
ปกติสุขเช่นทุกวันนี้” – เกษตรกรชาย หมู่บ้านมูดู
• “เหตุผลที่เราไม่อยากจะย้ายไปไหน เพราะที่ที่เราเรียก
แผนภาพที่ 2.10 ว่าเลชอง มีมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษของเรา ที่นี่มีเจดีย์
ที่ประดิษฐานมาหลายยุคหลายสมัย ถ้าเราต้องย้าย
ความพอใจในสภาพวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในสภาพ ออกไป ก็เท่ากับต้องทอดทิ้งมัน”– เกษตรกรชายสูงวัย
แวดล้อม ณ ปัจจุบัน การพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชน หมู่บ้านเลชอง
ความผูกพันกับถิ่นฐานบ้านเกิด ความยึดโยงกับอัต บทที่ 2
ลักษณ์ของประเทศ และกลุ่มชาติพันธุ์ และความกลัวที่ ในเขตพื้นที่ราบประชากรส่วนน้อยซึ่งมี
ไม่รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นในอนาคต เป็นต้น ประมาณหนึ่งในห้าของทั้งหมด (19 เปอร์เซ็นต์) ยังไม่
• “เราอยู่ที่นี่ได้ดีอยู่แล้ว เราไม่จำาเป็นต้องซื้อผัก เนื้อ ตัดสินใจว่าตนต้องการจะย้ายออกหรือไม่ ผู้เข้าร่วมการ
สัตว์ หรือปลา เราไม่เคยขาดแคลนไม้ฟืนด้วย สภาพ สนทนากลุ่มในหมู่บ้านต่าง ๆ ได้แสดงความเห็นว่า พวก
อากาศที่นี่ก็ดี เราไม่มั่นใจว่าพื้นที่ที่เราจะย้ายไป เขาอาจจะยอมรับที่จะย้ายหากมีเงื่อนไขสนับสนุนที่เพียง
เหมาะกับเราหรือไม่ มันอาจเทียบไม่ได้กับที่นี่ที่เราอยู่ พอ เช่น การเข้าถึงพื้นที่แปลงเกษตรแห่งใหม่ บ้านที่อยู่
ตอนนี้ บางทีเราอาจจะเจออุปสรรคมากมายที่นั่น” – อาศัย ไฟฟ้า และนํ้าประปา ผู้ให้สัมภาษณ์คนหนึ่งใน
ชาวบ้าน หมู่บ้านตะบิวชอง หมู่บ้านมะยินจีได้อ้างถึงมาตราหนึ่งในกฎหมายเขต
• “ในที่ของเรามีทุกอย่างพร้อม เราจะเข้าไปกินที่บ้าน เศรษฐกิจพิเศษทวาย (บทที่ 8 มาตราที่ 34) ว่า ผู้ที่ได้รับ
ไหนก็ได้ ถ้าเราจะขึ้นเขาเพื่อไปเก็บหน่อไม้และผัก ผลกระทบจะต้องได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุน
ต่าง ๆ มากิน ก็ไม่ใช่ปัญหาอะไร ดังนั้น เราจึงไม่คิดที่ ให้สถานภาพภายหลังจากการอพยพโยกย้ายนั้นต้องไม่
จะย้ายออกจากที่นี่” – ชาวนาหนุ่ม หมู่บ้านมะยินจี ตกต่ําไปกว่าสถานภาพดั้งเดิมของพวกเขา (ดูเพิ่มเติมใน
• “เราไม่อยากย้ายออกไป เราหมายความอย่างนั้นจริง ๆ บทที่ 3) ข้อความจากการสนทนากลุ่มด้านล่างนี้ บ่งบอก
เราต้องการอาศัยอยู่ในถิ่นฐานบ้านเกิดของเราเท่านั้น” ถึงความคิดเห็นของชาวบ้านที่พิจารณาเรื่องการโยกย้าย
– ชาวบ้าน หมู่บ้านมิตตา
• “เราอยากอยู่ในถิ่นฐานบ้านเกิดของเรา บ้านเกิดของ • “ถ้าสภาพความเป็นอยู่ไม่ดีขึ้น เราก็คงจะไม่ย้าย
เรามีหลักประกันต่าง ๆ ในชีวิตให้กับเรา” ชาวบ้าน เพราะมันคงไม่มีความหมายที่จะทำาเช่นนั้น หากชาว
หมู่บ้านซินปิวตาย บ้านไม่ต้องพบกับความทุกข์ยาก เราก็น่าจะย้ายไป
39