Page 52 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 52

40


                หมายเลข                                  เรื่อง                                ปี พ.ศ. ที่รับรอง
                   4      ข้อ 3 ความเสมอภาคของหญิงชาย ในการเข้าถึงสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง    2524

                   3      ข้อ 2 การด าเนินการในระดับชาติ                                           2524
                   2      แนวทางในการน าเสนอรายงาน                                                 2524
                   1      พันธกรณีในการน าเสนอรายงาน                                               2524

               ที่มา http://www2.ohchr.org/english/bodies/hrc/comments.htm

                            3.1.4.1  ข้อคิดเห็นร่วมอันส าคัญของคณะกรรมการประจ ากติการะหว่างประเทศว่าด้วย

                                     สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

                                     นับตั้งแต่คณะกรรมการประจ ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ

               ทางการเมือง (The  Human  Rights  Committee) ได้เริ่มด าเนินงานใน ค.ศ. 1976  (พ.ศ. 2519) จนถึงปัจจุบัน
               (ธันวาคม 2555) คณะกรรมการฯ ได้จัดท าข้อคิดเห็นร่วมอันส าคัญ (General Comments) จ านวน 34 ฉบับ

                                     ความเห็นทั่วไปทั้ง 34 ฉบับ ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
               ทางการเมือง ถือเป็นการพัฒนาเกณฑ์ และมาตรฐานในการปฏิบัติให้เป็นไปตามพันธกรณีตามกติการะหว่าง
               ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งประเทศภาคีของกติการะหว่างประเทศจะได้ท าความ

               เข้าใจในความหมายและขอบเขตของบทบัญญัติในกติการะหว่างประเทศ ตลอดจนให้ค าอรรถาธิบาย
               สาระส าคัญและประเด็นปัญหาทั่วไปที่อาจเกิดขึ้นได้ในกระบวนการด าเนินการให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น

                                     คณะผู้ศึกษาได้สรุปเนื้อหาสาระเฉพาะส่วนที่เชื่อมโยงกับสาระแห่งสิทธิ และพันธะ
               หน้าที่ของรัฐ ไว้ดังต่อไปนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่าการวิเคราะห์พันธะหน้าที่ของรัฐ และก าหนดตัวชี้วัดสาม
               ประเภท ตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อคิดเห็นร่วมอันส าคัญ

                                                                                                 57
                                       ข้อคิดเห็นร่วมอันส าคัญ ล าดับที่ 6 (1982) ข้อ 6 “สิทธิในชีวิต”
                                                                                                        58
                                         -  รัฐมีหน้าที่ต้องปูองกันการโฆษณาชวนเชื่อให้เกิดสงคราม และการล้างเผ่าพันธุ์
                                         -  ปูองกันไม่ให้มีการพรากชีวิตตามอ าเภอใจ “รัฐต้องด าเนินการไม่เพียงแต่
                                            ปูองกัน หรือลงโทษการพรากชีวิตที่เป็นการกระท าผิดอาญา แต่ต้องปูองกัน

                                            การเข่นฆ่าตามอ าเภอใจที่กระท าโดยเจ้าหน้าที่ความมั่นคงด้วย... ดังนั้น
                                            กฎหมายจักต้องควบคุมการใช้อ านาจ และจ ากัดการใช้อ านาจกับสถานการณ์
                                                                                       59
                                            ที่อาจท าให้บุคคลอาจถูกพรากชีวิตโดยเจ้าหน้าที่ได้”
                                         -  รัฐต้องมีมาตรการปูองกันการท าให้บุคคลหายตัวไปโดยการใช้ก าลัง  ซึ่งมัก

                                            น าไปสู่การพรากชีวิต และต้องมีกลไกและกระบวนการในการไต่สวนบุคคล
                                                   60
                                            ที่หายตัว



               57   Committee on Civil and Political Rights, General Comment No. 06: “The right to life (art. 6)” Adopted
                  on. 30/04/1982
               58
                   ibid. para. 2
               59
                    ibid. para. 3
               60    para. 4
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57