Page 379 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 379
301
ถอดบทเรียน Normative elements
Availability
Physical Accessibility
Economic Accessibility
Information Accessibility
Quality
Safety
Cultural Acceptability
ถอดบทเรียนจากหลักการ PANTHER for Redress and Accountability
Participation and Inclusion
Accountability
Non-Discrimination
Transparency
Human Rights, Dignity
Empowerment
Rule of Law
สรุปบทเรียน
เปูาหมายในการจัดทําตัวชี้วัด ต้องชัดเจน การใช้งาน การติดตาม ตรวจสอบ การพัฒนา ฯลฯ
เริ่มจากการพัฒนาแผน และสร้างศักยภาพให้กับบุคลากรที่มีบทบาทสําคัญในการสร้างการ
เปลี่ยนแปลง
ใช้ประโยชน์จากแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และบูรณาการเข้าสู่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ รวมถึงการวางแผนงบประมาณประจําปี ฯลฯ
ผลักดันนโยบายอย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดวางยุทธศาสตร์ และปรับโครงสร้างให้รองรับ
ประสานความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ ที่เป็น key stakeholders ในการพัฒนาเครื่องมือ
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ได้พัฒนาตัวชี้วัดควบคู่ไปกับการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โดยใช้กรอบสิทธิมนุษยชนในการพัฒนา (HRBA)
ผศ. วิชัย ศรีรัตน์ - ขอบคุณ คุณบุญแทนมากครับ ดูเวลาแล้วเรามีเวลาที่รับฟังความคิดเห็นได้
น้อยมาก เพราะฉะนั้นผมว่าอันนี้เป็นตัวอย่างของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ และของ South Africa กับของ
อังกฤษมีตัวอย่างอยู่ในเอกสารแล้วนะครับ จะไม่ลงไปในรายละเอียด ผมคิดว่าผมจะตัดรายการไป เพื่อเป็น
การรับฟังความคิดเห็นและรับฟังข้อมูลกันเลยดีกว่านะครับ ผมมีวิทยากรเป็นผู้ดําเนินรายการ คือ คุณสันติ
ลาตีฟี
รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 2