Page 152 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 152

6.1.6  กรณีทะเลและชายฝั่ง: การออกเอกสารสิทธิ์ในพื้นที่ป่าชายเลน

                          1)     ในการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินริมทะเล และพื้นที่ใกล้เคียง จะต้องมีการน าภาพถ่ายทางอากาศ
                                                                                    ่
                   ของกรมแผนที่ทหาร  และภาพจากดาวเทียม  มาเปรียบเทียบ หากพบว่าเดิมเป็นปาชายเลนกรมที่ดินต้องไม่ออก
                   เอกสารสิทธิ์ใดๆ ให้กับเอกชน
                                                                                    ั
                                                                      ่
                          2)     ให้รัฐร่วมกับชุมชน  เร่งด าเนินการฟื้นฟูพื้นที่ปาชายเลนซึ่งในปจจุบันอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรม
                                                       ่
                                       ั
                   เช่น บ่อกุ้งที่ถูกทิ้งร้างในปจจุบัน รวมถึงพื้นที่ปาชายเลนอื่นๆ ที่ต้องการการฟื้นฟู

                          6.1.7  กรณีทะเลและชายฝั่ง: ก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างโดยการถมทะเลบริเวณริมทะเลและกลาง
                   ทะเล
                          1)     พื้นที่ทะเล  โดยหลักการแล้วเป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ที่ประชาชนมีสิทธิใช้ประโยชน์ร่วมกัน
                                                                                 ั
                   การจะจัดท าโครงการใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิทธิของสาธารณชน ต้องมีการรับฟงความคิดเห็น ต้องให้สาธารณชน
                                         ั
                   รับรู้   และมีการประชุมรับฟงความคิดเห็นของ  สาธารณชนดังกล่าว ก่อนการตัดสินใจในโครงการ และก่อนการจัด
                   จ้างท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
                          2)     ก่อนการตัดสินใจท าโครงการ ต้องค านึงถึงการรักษาระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และภูมิทัศน์ ของ
                   ประเทศเป็นส าคัญ ยิ่งกว่าผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเฉพาะหน้า เพื่ออนุชนคนรุ่นต่อไปในอนาคต

                          6.1.8  กรณีทะเลและชายฝั่ง: กรมประมงกับการอนุญาตให้ใช้พื้นที่ทะเล
                                                                      ั่
                                                                                                ั
                          1)     ในการอนุญาตให้ใช้พื้นที่ทะเลบริเวณใกล้ชายฝง ก่อนมีการอนุญาตควรมีการรับฟงความคิดเห็น
                                ั่
                   ของชุมชนชายฝงทะเลนั้นๆ ก่อน และในการพิจารณาอนุญาตควรอยู่ในอ านาจของกรมประมงร่วมกับกรมทรัพยากร
                                  ั่
                   ทางทะเลและชายฝง
                          2)     การใช้พื้นที่ทะเลในการประกอบกิจการ จะต้องการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม อย่างน้อยที่สุดใน

                   ระดับการจัดท ารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) พร้อมทั้งจัดท าเอกสารเผยแพร่ที่มีเนื้อหาทั้ง
                   ด้านดีและผลกระทบอย่างครบถ้วน ต้องมีการประชุมกลุ่มย่อยเป็นระยะๆ เพื่อให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบ
                   โดยตรงทุกราย ได้ร่วมพิจารณาและร่วมตัดสินใจอย่างโปร่งใส

                          6.1.9  กรณีเหมืองหินอุตสาหกรรม
                          1)     ก่อนการอนุญาตให้มีการเปลี่ยนชนิดแร่จากแร่ชนิดอื่น  หรือเพิ่มเติมชนิดแร่     มาเป็นแร่หิน

                   อุตสาหกรรม ต้องมีการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) เพิ่มเติม ตลอดทั้งต้องได้รับความ
                   ยินยอมทั้งจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงและข้างเคียง (ทั้งสถานที่ตั้งเหมือง
                   โรงโม่หิน และเส้นทางการขนส่ง) อีกครั้งหนึ่ง
                          2)     ในระหว่างการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม  (Environmental  Impact

                   Assessment: EIA) จะต้องมีกระบวนการจัดท าเอกสารที่มีเนื้อหาทั้งด้านดีและผลกระทบอย่างครบถ้วนเพื่อเผยแพร่
                                                                  ั
                   ให้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง และจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง
                   เป็นระยะๆ และหลังจากจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเสร็จสิ้นควรมีกระบวนการเช่นเดียวกัน
                          3)     ในระหว่างประกอบกิจการโรงโม่หิน  และเหมืองหินอุตสาหกรรม  ต้องเปิดโอกาสให้องค์กร
                   ปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน  เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการประกอบกิจการให้เป็นไปตามเงื่อนไขท้าย
                   ใบอนุญาต หรือเงื่อนไขท้ายประทานบัตร







                                                              137
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157